กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนบ้านโผลง ตำบลโต๊ะเด็ง
รหัสโครงการ 64-L2539-02-9
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเครือข่ายลดบุหรี่บ้านโผลง
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,320.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายยาการียา ตาเหตาแซ
พี่เลี้ยงโครงการ นางโนรีดา บือราเฮง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 11 ก.พ. 2564 11 ก.พ. 2564 15,320.00
รวมงบประมาณ 15,320.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

บุหรี่จัดเป็นสาเหตุสำคัญในการก่อให้เกิดโรคต่างๆมากมาย คนไทยจำนวนมากยังคงสุบบุหรี่ แม้ว่าจะทราบถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่เป็นอย่างดี องค์การอนามัยโลก พบว่า ในปี 2542 ประชากร สูบบุหรี่ ทั่วโลก ประมาณ 1,100 ล้านคน ซึ่งคาดว่าในปี 2568 จำนวนผู้สูบบุหรี่จะเพิ่มขึ้นเป็น 1,600 ล้านคน บุหรี่เป็นสาเหตุการตายอันดับ 2 ของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งในปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ 5 ล้านคนต่อปี ซึ่งสถานการณ์ในประเทศไทยจากการสำรวจสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2547 พบว่าคนไทยสูบบุหรี่ประมาณ11.3 ล้านคน เฉลี่ย 10.38 มวนต่อคนต่อวัน ปัจจุบันคนไทยเสียชีวิตด้วยโรคจากการสูบบุหรี่ปีละ 52,000 คน หรือชั่วโมงละ 6 คน ซึ่งในบุหรี่ 1 มวน มีสารพิษมากกว่า 4000 ชนิด และสารก่อมะเร็งไม่ต่ำกว่า 42 ชนิด ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า ควันบุหรี่เป็นอันตรายที่ร้ายแรงต่อสุขภาพของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่เช่นเดียวกัน บุหรี่ไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้สูบเพียงอย่างเดียว หากแต่ควันบุหรี่ในบรรยากาศยังคงเต็มไปด้วยสารพิษอันตรายต่างๆที่สามารถเข้าสู่ร่างกายคนที่ไม่สูบได้โดยง่าย และทำลายสุขภาพจนอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ หายนะประเภทนี้กำลังเป็นที่น่าวิตกในสังคม ซึ่งก็คือ ควันบุหรี่มือสอง นั่นเอง ในแต่ละปีมีคนไม่สูบบุหรี่หลายแสนคนต้องเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากการได้รับควันบุหรี่มือสอง ซึ่งควันบุหรี่ในบรรยากาศหรือควันบุหรี่มือสองนั้นเกิดขึ้นจาก2แหล่ง คือ ควันบุหรี่ที่ผู้สูบพ่นออกมา และควันบุหรี่ที่ลอยจากปลายมวนบุหรี่ ทันทีที่บุหรี่ถูกจุดขึ้น การเผาไหม้ของมวนบุหรี่จะทำให้เกิดสารเคมีซึ่งเป็นสารพิษอันตราย ทั้งในควันที่สูดเข้าไปและควันที่ลอยอยู่ในอากาศ เป็นเหตุให้คนใกล้ชิดผู้สูบบุหรี่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ไม่แพ้ผู้สูบเลย โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนที่นิยมสูบบุหรี่เพื่อให้เพื่อนหรือสังคมยอมรับ นับเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชนและบ้านในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในอันตรายจากบุหรี่

 

0.00
2 เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำเยาวชนในชุมชน

 

0.00
3 เพื่อสร้างแกนนำในการขับเคลื่อนการดำเนินงานปลอดบุหรี่ในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 15,320.00 2 15,320.00
1 เม.ย. 64 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ 50 10,320.00 10,320.00
2 เม.ย. 64 กิจกรรมร่วมกันเดินรณรงค์และประชาสัมพันธ์การปลอดบุหรี่ในศาสนสถาน และในที่สาธารณะ 0 5,000.00 5,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะ สามารถดูแลสุขภาพ หลีกเลี่ยงป้องกันภัยจากบุหรี่ได้ 2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์เพื่อการลด/ละ/เลิกบุหรี่ 1. 3.มีแกนนำในการขับเคลื่อนการดำเนินงานปลอดบุหรี่ในชุมชน 2. 4.ผู้เข้าร่วมอบรมได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และทำให้ชุมชนน่าอยู่ ปราศจากโรคร้าย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2564 00:00 น.