กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี ประจำปี พ.ศ.2564
รหัสโครงการ 64-L3045-2-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มรักบ่อม่วง
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 พฤษภาคม 2564 - 14 พฤษภาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 1 กรกฎาคม 2564
งบประมาณ 26,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางสาวคอดีญะฮ์ ปิยา 2.นางสาวสลีนา มะฉุ 3. นางสาวนุดฮีดาหย๊ะ เหนื่องตีบ 4.นางสาวอริศรา มะรอแม 5.นางสาวซามียะ นาแว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านบ่อม่วง ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.831837,101.383759place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 พ.ค. 2564 14 ก.ค. 2564 3,750.00
2 11 พ.ค. 2564 14 ก.ค. 2564 11,600.00
3 12 พ.ค. 2564 14 ก.ค. 2564 3,000.00
4 13 พ.ค. 2564 14 ก.ค. 2564 7,000.00
5 14 พ.ค. 2564 14 ก.ค. 2564 1,000.00
รวมงบประมาณ 26,350.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
20.00
2 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
1.00
3 จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
10.00
4 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
1.00
5 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ขยะมูลฝอยหรือของเสีย แบ่งเป็น มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวด แก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง กากน้ำมัน หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม และพื้นที่เกษตรกรรม ปริมาณขยะมูลฝอยดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะที่เกิดขึ้นทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่อากาศเสีย น้ำเสีย แหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อ ทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบ่อม่วง ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีจำนวนประชากร ชาย 607 คน หญิง 640 คน รวมประชากร 1.248 คน มีจำนวนครัวเรือน 250 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 : ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ อำเภออำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี) มีปริมาณขยะเฉลี่ยประมาณ 1 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อวัน (ข้อมูลจากฐานข้อมูลการจัดการขยะ อบต.ปิยามุมัง ณ เดือน มกราคม 2564)ในการนี้กลุ่ม ชุมชนบ้านบ่อม่วง จึงจัดทำโครงการสิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี ประจำปี พ.ศ.2564 โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบ่อม่วง มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี เพื่อให้ขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง จากการที่ประชาชนนำความรู้ที่ได้นำไปปฏิบัติ ใช้ในชีวิตประจำวัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

20.00 20.00
2 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

1.00 0.60
3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

10.00 30.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

1.00 1.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 280 26,350.00 0 0.00
10 พ.ค. 64 ประชุมชี้แจงให้คณะกรรมการหมู่บ้านรับทราบถึงวิธีการดำเนินกิจกรรม 40 3,750.00 -
11 พ.ค. 64 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะพร้อมปฏิบัติ 80 11,600.00 -
12 พ.ค. 64 จัดทำเวทีข้อตกลงของชุมชน 40 3,000.00 -
13 พ.ค. 64 ดำเนินกิจกรรมที่ลงมติจากการทำเวทีข้อตกลงของชุมชน 80 7,000.00 -
14 พ.ค. 64 ถอดบทเรียน 40 1,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น 2.ปริมาณขยะในครัวเรือนลดลง 3.จำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะเพิ่มขึ้น
4.หมู่บ้านค้างเคียงสนใจที่จะคัดแยกขยะ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2564 10:29 น.