กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง


“ โครงการเด็กไทยร่างกายสมบูรณ์ ภูมิคุ้มกันดี มีพัฒนาการสมวัย ”

ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
จัดคลินิกเคลื่อนที่ในการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุทุกหมู่บ้านอย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ครั้งต่อปี 4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เยี่ยมดูแลผู้สูงอายุ ในพื้นที่รับผิดชอบ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ชื่อโครงการ โครงการเด็กไทยร่างกายสมบูรณ์ ภูมิคุ้มกันดี มีพัฒนาการสมวัย

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60L4145-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กรกฎาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กไทยร่างกายสมบูรณ์ ภูมิคุ้มกันดี มีพัฒนาการสมวัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กไทยร่างกายสมบูรณ์ ภูมิคุ้มกันดี มีพัฒนาการสมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กไทยร่างกายสมบูรณ์ ภูมิคุ้มกันดี มีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60L4145-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กรกฎาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ดำเนินไปโดยมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์สูงที่สุด บุคลากรที่เกี่ยวข้องควรทราบนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้วหมู่บ้านชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช้ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานโภชนาการ งานทันตสาธารณสุข งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของรพ.สต.บ้านกาตองอำเภอยะหาจังหวัดยะลาในรอบปีที่ผ่านมาปรากฏว่า กลุ่มเด็ก 0 - 5 ปี ที่มารับบริการคิดเป็นร้อยละ 86.43ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดแต่เจ้าหน้าที่ต้องมีการติดตามการฉีดวัคซีนถึงบ้านเป็นประจำทุกเดือนและงานโภชนาการของรพ.สต.บ้านกาตองในรอบปีที่ผ่านมาปรากฏว่า กลุ่มเด็ก 0 - 72เดือน ที่มารับบริการมีน้ำหนักปกติคิดเป็นร้อยละ 84.20 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนด ฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯจากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่า เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ผู้ปกครองยังไม่ตระหนักถึงการฉีดวัคซีนได้รับวัคซีน ต้องมีการติดตามกระตุ้นทุกระยะมีการเยี่ยมบ้าน และเด็กมีภาวะทุพโภชนาการสูงจึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัดติดตามค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข้งแรงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ให้มีความรู้ในเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    จัดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ในรพ.สต.และ อสม.โดยการจัดประชุมวิชาการด้านโภชนาการส่งเสริมการดูแลบุตร0-5 ปีการตรวจพัฒนาการเด็กและการรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคพร้อมทั้งชี้แจงรายละเอียดแบ่งเขตรับผิดชอบอสม.เพื่อดูแลและติดตามเด็ก ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อชั่งน้ำหนักเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์เดือนละ 1 ครั้ง 2.ดูแลให้เด็กขาดสารอาหารทุกระดับให้ได้รับอาหารเสริมครบถ้วน 3.สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็ก0-5 ปีในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ เพื่อป้องกั การเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ ด้วยวัคซีน 4จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปีเรื่องวัคซีนในเด็กอายุ 0-5ปี, โภชนศึกษาและการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 5.ติดตามความครอบคลุมของการให้บริการวัคซีนและเก็บตกกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับบริการวัคซีน 6.ติดตามชั่งน้ำหนักเด็ก 0 - 5 ปี และให้โภชนาการศึกษาทุกๆ3เดือน 7.ติดตามและตรวจพัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปีทุกเดือน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ครอบครัวและชุมชน    มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของโภชนาการที่ดีต่อสุขภาพและถือปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 2. ครอบครัวและชุมชน มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการมารับวัคซีนส่งผลให้ชุมชนห่างไกลจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 3. เด็ก 0 – 5 ปี มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงและพัฒนาการสมวัย 4. เด็ก 0 – 5 ปี ที่มีพัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง 5. ครอบครัวและชุมชน อสม. มีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้มารับวัคซีนตามเกณฑ์

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ให้มีความรู้ในเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : เพื่อส่งเสริมให้เด็ก0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ให้มีความรู้ในเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคภาวะโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กไทยร่างกายสมบูรณ์ ภูมิคุ้มกันดี มีพัฒนาการสมวัย จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60L4145-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( จัดคลินิกเคลื่อนที่ในการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุทุกหมู่บ้านอย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ครั้งต่อปี 4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เยี่ยมดูแลผู้สูงอายุ ในพื้นที่รับผิดชอบ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด