กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการป้องกันไข้เลือดออกด้วยการทำสเปรย์ตระไคร้หอมไล่ยุง ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-50109-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอน
วันที่อนุมัติ 29 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 16,520.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวไลลา แวอุมา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในปัจจุบัน

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการจัดทำนวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ชุมชน ร้อยละ 100

0.00
2 2. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะของ อสม. ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะในการจัดการสุขภาพประชาชนร้อยละ 100

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ๑. เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในปัจจุบัน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะของ อสม. ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

??/??/???? 1.กิจกรรม การจัดอบรมให้ความรุ้ 50.00 16,520.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

๑. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ในปีที่ผ่านมา เพื่อวางแผนและกำหนดทิศทางการทำกิจกรรม/โครงการ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการฯแก่เจ้าหน้าที่และ อสม.ทั้ง 6 หมู่บ้าน ๓. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ๔. แต่งตั้งคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดเนื้อหาการอบรมและแนวทางการดำเนินงาน ๕. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ อสม.ทุกหมู่บ้าน       6. เตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ       7. ดำเนินการตามกิจกรรม/โครงการ
      8. ดำเนินการฝึกปฏิบัติ       9. ประเมินผลการอบรม       10. สรุป วิเคราะห์ ประเมินผล และจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน กลวิธี 1. ขั้นเตรียมการ 1.1. รวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ 1.2. นำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล การสำรวจพื้นที่ๆเสี่ยงต่อการเกิดโรค และวิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมต่อบริบทพื้นที่ 1.3. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 1.4. ประสาน อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ และผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งวิทยาการการให้ความรู้กับ กลุ่มเป้าหมาย         1.5.กำหนดวันเวลาที่จะดำเนินโครงการ     2.  ขั้นดำเนินการ         2.1. เตรียมอุปกรณ์ในการอบรม แผ่นป้ายให้ความรู้ ในเรื่องการปฏิบัติตนเมื่อเกิดโรค และวิธีการป้องกันมิให้เกิดโรค
        2.2. เตรียมอุปกรณ์ในการทำสเปรย์ตะไคร้หอม เช่น ตะไคร้หอม มะกรูด แอลกอฮอล์ เป็นต้น         2.3. ดำเนินการให้ความรู้ ฝึกทักษะ ตามหลักการขอกิจกรรม/โครงการ ทั้งนี้เพื่อใช้ในการให้บริการสาธารณสุขชุมชน 3. ขั้นหลังดำเนินการ         3.1. ติดตามข้อมูลการปฏิบัติงาน และการตอบกลับของกลุ่มเป้าหมายเพื่อนำข้อมูลไปพัฒนาปรับปรุงโครงการต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ และขยายผล แนะนำ สอนวิธีทำสเปรย์หอมให้แก่คนในครอบครัว หรือชุมชนใกล้เคียง
  2. ชุมชนลดอัตราการแพร่กระจายของโรค และลดโอกาสการเกิดโรคไข้เลือดออกได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ธ.ค. 2563 00:00 น.