กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู


“ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางรูซีย๊ะ อูมา

ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2540-2-0001 เลขที่ข้อตกลง 007/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2540-2-0001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤษภาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,495.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 54 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญกับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วยแต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีปัญหาขึ้นเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่นโรคฟันผุ ซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆอย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่นอาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมาก ในสังคมปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน ทางนี้โรงเรียนบ้านละหาน จึงได้คิดที่จะกระตุ้นความสนใจของนักเรียนให้หันมาสนใจสุขภาพช่องปากและให้ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันมากขึ้น ดังนั้นหากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเห็นว่าเรื่องของทันตกรรมสุขภาพนั้น เป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบและให้เด็กได้รู้สึกว่าเรื่องต่างๆเหล่านี้ไม่ได้ไกลตัวและยากอย่างที่คิด และเพื่อให้เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน
  3. . เพื่อให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากครบทุกคน นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากและฟันดีขึ้นตามลำดับ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านละหานมีทักษะการดูแลรักษาฟัน ตลอดจนการแปรงฟันที่ถูกต้อง
70.00 20.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : .ร้อยละ90 ของนักเรียนมีความชำนาญในการแปรงฟัน การดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี
70.00 20.00

 

3 . เพื่อให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90 ของนักเรียนสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
70.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน (3) . เพื่อให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2540-2-0001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรูซีย๊ะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด