กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) ชมรม อสม. รพ.สต. บ้านควนอินนอโม
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. รพ.สต. บ้านควนอินนอโม
วันที่อนุมัติ 21 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศุธกานต์ ส่งแสงทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลก ๓๘ ประเทศข้อมูลตั้งแต่ ๕ มกราคม- ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ (๐๗.๐๐ น.) พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจำนวน ๘๐,๔๒๗ ราย เสียชีวิต ๒,๗๑๒ ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาล ๑๖ ราย กลับบ้านแล้ว ๒๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ของผู้ป่วยในประเทศไทย รวมสะสม ๔๐ ราย (ข้อมูลจาก: รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคตดิเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙)กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ท๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓) และปี ๒๕๖๔ มีการระบาดรอบ ๒ อย่างต่อเนื่อง สำหรับประเทศไทยวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔ มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม ๒๔๕ ราย (สะสม ๑๐,๒๙๘ ราย) กลับบ้านแล้ว ๖,๔๒๘ ราย (+๘๘๒ ราย)ยังรักษาในรพ. ๓,๘๐๓ ราย เสียชีวิต ๖๗ ราย ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแล การเฝ้าระวังป้องกันให้กับประชาชนในพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ทีม อสม.และเจ้าหน้าที่ มีวัสดุ อุปกรณ์ ที่สามารถใช้ในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID-๑๙)ในพื้นที่

0.00
2 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID-๑๙) ให้กับประชาชนในพื้นที่

ประชาชนมีความรู้ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID-๑๙) ในพื้นที่

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 21,650.00 0 0.00
21 ม.ค. 64 กิจกรรมการป้องกัน 50 21,650.00 -

1 ขั้นตอนวางแผนงาน   - ร่วมประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เนื้อหาและรูปแบบการดำเนินงานโครงการ 2 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณต่อกองทุนฯ 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน   - รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ   - สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่าโดยจัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข 4 การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ 5 ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์และแจ้งให้ทราบเป็นระยะ 6 สรุปผลการดำเนินงานและรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 มีวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์พร้อมสำหรับเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน 2 อสม.มีเครื่องมืออุปกรณ์ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ 3 การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ม.ค. 2564 10:38 น.