กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2564 ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจะฮาซือนะ มีนาดิง




ชื่อโครงการ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 - L4138 – 02 - 06 เลขที่ข้อตกลง 015/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 - L4138 – 02 - 06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานนั้นเป็นสิ่งสำคัญยิ่งตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ์ ซึ่งการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อทารกในครรภ์ได้ เช่นภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์น้ำหนักตัวแรกต่ำกว่าเกณฑ์ ความผิดปกติของระดับสติปัญญาและพัฒนาการทารก ตลอดจนภาวะทารกเสียชีวิตในครรภ์ และเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการตกเลือดขณะคลอดได้ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด มีความจำเป็นต้องได้รับการฝากครรภ์ เตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ และภาวะซีดขณะตั้งครรภ์จะต้องได้รับการดูแลแก้ไข จึงมีความจำเป็นที่เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีความรู้และให้การดูแลอย่างเป็นระบบ โดยพบว่าอัตราการได้รับยาเสริมธาตุเหล็กในหญิงวัยรุ่นและหญิงวัยเจริญพันธุ์อย่างน้อย 3 เดือน ก่อนการตั้งครรภ์ร้อยละ 30 อัตราภาวะซีดโลหิตจากการขาดธาตุเหล็ก ในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกิน 10% อัตราการตายของมารดาจากการตกเลือดหลังคลอดเป้าหมาย 0%

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
  2. เพื่อพัฒนาระบบการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานการฝากครรภ์คุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ สตรีที่เพิ่งแต่งงานใหม่และสามี หญิงวัยเจริญพันธ์ มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
  2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้ทุกคนได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และครบตามเกณฑ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 26 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีภาวะซีด หญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มารดาหลังคลอด และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค พร้อมสรุปข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์  จำนวน 80 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ เมื่อทราบว่าตนเองตั้งครรภ์  ร้อยละ 100 2.หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ฝากครรภ์คุณภาพ ร้อยละ 100 3.หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจในโรคที่เป็นอยู่ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 100 4.หญิงหลังคลอดเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจในโรคที่เป็นอยู่ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด ร้อยละ 100

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

2 เพื่อพัฒนาระบบการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานการฝากครรภ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด : มีการตรวจประเมินรับรองมาตรฐานคุณภาพแม่และเด็ก และผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับจังหวัด
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ (2) เพื่อพัฒนาระบบการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ  ตามเกณฑ์มาตรฐานการฝากครรภ์คุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 - L4138 – 02 - 06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเจะฮาซือนะ มีนาดิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด