กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
รหัสโครงการ 64-L2484-02-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลบางขุนทอง
วันที่อนุมัติ 11 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 17,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางประนอม พรมเจียม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มี.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 17,600.00
รวมงบประมาณ 17,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3982 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล จากสถานการณ์โรคในเขตตำบลบางขุนทอง ในปี 2556 – 2563 พบผู้ป่วยจำนวน 7, 10, 1,4, 9 ,0,8 และ 9 ราย คิดเป็นอัตรา 167.46 , 236.41 , 43.06, 173.71, 0, 57.37 ,154.41 และ 173.71 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ตำบลบางขุนทองมีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2535 จนถึง ปี 2563 แม้ใน ปี 2560 และ 2561 จะมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ในอัตราที่ต่ำ แต่ปี 2562 และ 2563 มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบางขุนทอง ซึ่งมีอัตราป่วยสูงมาก ถึง 154.41 และ 173.71 ต่อแสนประชากร และตำบลอื่นๆที่อยู่รอบๆข้างก็มีการระบาดของโรค ทุกปี ประชากรในตำบลบางขุนทองก็มีการเดินทางไปหาญาตินอกพื้นที่ หลายครั้งที่ประชาชน ไปรับเชื้อจากที่อื่น และกลับมาป่วยที่บ้าน การที่ประชาชนไปมาหาสู่กันอย่างต่อเนื่องนี้โรคไข้เลือดออกจึงยังเป็นปัญหาหนึ่งของประชาชน
เพื่อการป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่ได้ผลและมี ประสิทธิภาพนั้น จำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุก ๆ ฝ่าย ทั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกัน ป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคตลอดเวลา เช่นการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ไม่ให้มีลูกน้ำยุง สุ่มสำรวจความชุกลูกน้ำยุง ใส่ทรายฆ่าลูกน้ำยุง รณรงค์ให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวในกำจัดขยะ การป้องกันและควบคุมโรค สร้างแรงจูงใจในการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลบางขุนทองต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. อัตราป่วยด้วยกลุ่มโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสน

มีกิจกรรมสำรวจลูกน้ำทุกบ้านอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง/หมู่บ้าน

100.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,600.00 3 17,600.00
2 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต,ปล่อยปลาหางนกยูง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 0 10,200.00 10,200.00
2 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 - การปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น การคัดแยกขยะมาจำหน่าย กับ อบต. บางขุนทอง เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 0 0.00 -
2 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 - จ้างเหมาพ่นยุงครัวเรือนที่มีผู้ป่วยรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์ 0 2,400.00 2,400.00
2 ก.พ. 64 - 30 มิ.ย. 64 จัดทำสเปรย์ไล่ยุงจากตะไคร้หอม โดยประชาชน 0 5,000.00 5,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลง
2.แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลดง บ้านเรือนสะอาดขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ม.ค. 2564 00:00 น.