กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การเกษตรเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กรรมการชุมชนบ้านคลองผ่าน
วันที่อนุมัติ 24 พฤษภาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ - 30 พฤศจิกายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2560
งบประมาณ 49,925.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมนตรีหมัดอะดัม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเกษตรกรในชุมชนบ้านคลองผ่านยังมีการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช/วัชพืช ตลอดจนปุ่ยที่ใช้บำรุงดินก็ยังใช้ปุ๋ยเคมีกันอยู่ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค เกษตรในชุมชนบ้านคลองผ่านมีจำนวน๘๕ ครัวเรือน จำนวน๔๒๕ คณะกรรมการชุมชน กลุ่มสตรี อสม. ชุมชนบ้านคลองผ่านมีมติเห็นด้วย สมควรที่จะมีโครงการ การเกษตรเพื่อสุขภาพ เพื่อให้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการได้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ จากที่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ให้หันมาใช้น้ำหมักชีวภาพกำจัดศัตรูพืชแทน จากการใช้ปุ๋ยเคมีบำรุงพืช ให้หันมาใช้ปุ๋ยหมักแทน และจะให้สมาชิกแต่ละครัวเรือนที่เป็นสมาชิกโครงการได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงปัญหาอุปสรรคในการปลูกพืชที่แต่ละครัวเรียนได้ประสพพบเจอ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

รับสมัครตัวแทนครัวเรือนเข้าเป็นสมาชิกโครงการ พร้อมอธิบายที่ไปที่มาของโครงการนี้ ๒ สมาชิกแต่ละครัวเรือนเข้าร่วมอบรมในทุกๆกิจกรรมของโครงการนี้ ๒.๑ มีการตรวจสารเคมีในร่างกายและตรวจสารพิษในอาหาร โดยเชิญผู้ที่มีความชำนาญด้านสาธารสุขมาตรวจและมีการสมุดตรวจบันทึกสุขภาพรายบุคคล ๓ แต่ละครัวได้เรียนรู้การทำน้ำหมัก ปุ๋ยหมักแล้ว เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากการใช้สารเคมีหรือปุ๋ยเคมี มาใช้น้ำหมักชีวภาพหรือปุ๋ยหมักแทน ๔ สมาชิกแต่ละครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหาอุปสรรคในการเกษตร ที่แต่ละครัวเรือนได้ประสพ พบเจอ ๕. มีการติดตามผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม และมีการตรวจสารเคมีในร่างกายและตรวจสารพิษในอาหารหลังจากทำกิจกรรมและประเมินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ . ครัวเรือนในชุมชนได้รับความรู้ในการทำและนำไปใช้ ทั้งน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก ๒ . ครัวเรือนในชุมชนหันมาใช้น้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมัก แทนการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือการใช้ปุ๋ยเคมี ๓ . เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนอย่างยั่งยืน ด้วยความสามัคคีในชุมชนชนและภาคีร่วม ๔ . ครัวเรือนในชุมชนได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนของตนเอง ๕ . ครัวเรือนในชุมชนได้แบ่งปันผักปลอดสารพิษ ที่ปลูกเองมาแลกกับสมาชิกในโครงการอย่างพร้อมเพรียงกัน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2560 14:06 น.