กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว


“ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้ว ”

ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่างิ้ว

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้ว

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64 - L1529 - 4 - 01 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้ว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้ว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้ว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64 - L1529 - 4 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ลงวันที่ 13 กันยายน 2561 ได้กำหนดในข้อ 4 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นของคณะกรรมการกองทุนมีผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่รับผิดชอบต่อกองทุนโดยตรงมากยิ่งขึ้น (เปลี่ยนแปลงจากประกาศฉบับเดิมซึ่งกำหนดให็เป็นผู้กำกับดูแล) ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการจัดการระบบธุรการ การเงิน หรือความเสียหายที่มีต่อกองทุนภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุนและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ รวมทั้งมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดระหว่างการดำเนินการและบริหารจัดการกองทุน และที่สำคัญอีกหนึ่งประการ คือ ต้องเป็นการดำเนินงานและบริหารจัดการตามวัตถุประสงค์ของกองทุนด้วย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้สนับสนุนและกำหนดโดยสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหรือการพัฒนาศักยภาพและคณะกรรมการหรืออนุกรรมการหรือคณะทำงานอื่นๆ ที่กรรมการกองทุนแต่งตั้งให้มีประสิทธิภาพ รวมการจัดซื้อครุภัณฑ์ที่สนับสนุนการดำเนินงานโดยตรง สำหรับค่าตอบแทนคณะกรรมการ 400 บาท/คน/ครั้ง หรือคณะอนุกรรมการ 300 บาท/คน/ครั้ง หรือคณะทำงานอื่นๆ ที่เข้าร่วมประชุมได้เดือนหนึ่งไม่เกินตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ทั้งนี้งบประมาณประเภทที่ 4 สปสช.ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายประเภทนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกองทุนในรอบปีงบประมาณ นั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้วได้จัดทำ "โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลท่างิ้ว" ขึ้นเพื่อบริหารพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลท่างิ้ว รวมทั้งเพื่อให้กองทุนหลักประกันสุขภาพของเทศบาลตำบลท่างิ้วได้ดำเนินการตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ชุมชน หรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนสามารถบริหารจัดการกองทุนได้ตามวัตถุประสงค์
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการ คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการฯ
  2. จัดอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่คณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนฯ
  3. ส่งคณะกรรมการและอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องประชุม อบรม หรือทัศนศึกษาดูงาน
  4. ค่าวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน เพื่อใช้ในการดำเนินการในกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการมีความเข้าใจในระเบียบข้อบังคับต่างๆของกองทุนฯ
  2. คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการได้เข้ารับการประชุม/อบรม รวมถึงทัศนศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานกองทุนฯ
  3. แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  4. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนสามารถบริหารจัดการกองทุนได้ตามวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : - มีการประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี - ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณา/ติดตามโครงการหรือกิจกรรมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
0.00 1.00

มีการประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี - ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณา/ติดตามโครงการหรือกิจกรรมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการ คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับการประชุม/อบรม รวมถึงศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานกองทุน
0.00 0.00

คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับการประชุม/อบรม รวมถึงศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานกองทุน

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการบริหารกองทุนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุนฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 90
0.00 90.00

คณะกรรมการบริหารกองทุนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุนฯ อย่างมีประสิทธิภาพ

4 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กองทุนมีการใช้เงินมากกว่าร้อยละ 60
0.00 80.00

สนับสนุนการดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนสามารถบริหารจัดการกองทุนได้ตามวัตถุประสงค์ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการ คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ (4) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการฯ (2) จัดอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่คณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรกองทุนฯ (3) ส่งคณะกรรมการและอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องประชุม อบรม หรือทัศนศึกษาดูงาน (4) ค่าวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน เพื่อใช้ในการดำเนินการในกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างิ้ว จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64 - L1529 - 4 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่างิ้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด