กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน


“ โรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 สิงหาคม 2564 ถึง 12 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 สิงหาคม 2564 - 12 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,060.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสำคัญที่เราสามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวันมีมากมาย หนึ่งในปัญหาหลักที่ หลายคนต้องนึกถึงก็คือ ปัญหาขยะ ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน และมีแนวโน้มที่จะมีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต ทำให้เริ่มมีการก่อตั้งองค์กร กลุ่มนักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ขึ้นมาเพื่อแก้ไข รณรงค์เกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว และลดความรุนแรงที่อาจเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ดังนั้น โรงเรียนบ้านคลองช้างได้ตระหนักถึงความสำคัญ ด้านความสะอาด ความมีระเบียบของโรงเรียนและชุมชน เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับนักเรียนและชุมชนได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญรวมทั้งการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะสามารถจัดทำได้โดยการคัดแยกขยะแบ่งเป็น ขยะรีไซเคิล ขยะมูลฝอย และขยะย่อยสลาย ให้ถูกวิธีเพื่อให้โรงเรียนและชุมชนมีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นทางโรงเรียนบ้านคลองช้างจึงได้จัดทำ”โครงการโรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค “ นี้ขึ้นเพื่อให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้นและ เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนห่างไกลโรค มีสุขภาพร่างกายและใจที่ดีขึ้น
  2. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียนในการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ
  3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2 กิจกรรม เดินรณรงค์ หัวข้อการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะที่ถูกวิธี
  2. 1. กิจกรรม ลดขยะ เพิ่มความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 2.ปริมานขยะในโรงเรียนมีจำนวนลดลง 3.โรงเรียน สะอาด มีคุณภาพชีวิตที่ดี เข้มแข็งและน่าอยู่อย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียน มีสุขภาพกายและใจที่ดีขึ้น ร่าเริ่งแจ่มใส และได้เรียนรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดจากการกำจัดขยะที่ถูกต้องตลอดจนสร้างจิตสำนึกในการกำจัดขยะและแยกขยะได้ถูกต้องส่งผลให้โรงเรียนและชุมชนมีสภาพแวดล้อมดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนห่างไกลโรค มีสุขภาพร่างกายและใจที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนไม่ป่วยด้วยโรคระบาดที่เกิดจากขยะ เช่น โรคไข้เลือดออก
0.00 0.00 100.00

นักเรียน มีสุขภาพร่างกายและใจที่ดีขึ้น  และไม่ป่วยด้วยโรคระบาทที่เกิดจากขยะ

2 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียนในการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ
ตัวชี้วัด : สร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียนในการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ 100 เปอร์เซ็น
0.00 0.00 98.00

นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะยังไม่ครบ 100 % เนื่องจากนักเรียนบางคนอายุยังน้อย การเรียนรู้ยังไม่เต็มที่

3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : สามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
0.00 0.00 96.00

สามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62 62
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนห่างไกลโรค มีสุขภาพร่างกายและใจที่ดีขึ้น (2) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับนักเรียนในการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะ (3) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2 กิจกรรม      เดินรณรงค์ หัวข้อการคัดแยกขยะ                  การกำจัดขยะที่ถูกวิธี (2) 1. กิจกรรม ลดขยะ  เพิ่มความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โรงเรียนสะอาด ปลอดขยะ ไร้แหล่งเพาะพันธ์โรค จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด