กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์ ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิชิต แก้วรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-l7890-02-004 เลขที่ข้อตกลง 5/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-l7890-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ ปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยขณะนี้เผชิญกับความเสี่ยงมากมายอันเกิดจากสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนจำนวนมากซึมซับพฤติกรรมความรุนแรง สื่อลามกอนาจาร ยาเสพติด ยาเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อยู่ในแหล่งมั่วสุมและอื่นๆ จนพฤติกรรมเหล่านี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตร่วมสมัยของเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน จากโครงการศึกษาวิจัยศักยภาพท้องถิ่นในการพัฒนาและคุ้มครองเด็กและเยาวชนพบว่าปัญหาสำคัญที่จำเป็นต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วนมี 9 ปัญหา ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ปัญหาด้านพฤติกรรม การศึกษา เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร คุณธรรม จริยธรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ปัญหาอาชญากรรม ครอบครัวและการค้ามนุษย์(http://www.dla.go.th) เพื่อการแก้ปัญหาต่างๆเหล่านี้ จากผลการวิจัย คุณค่าของโนราห์ โดย พัทธานันท์ และพรทิพย์ (2559)กรณีศึกษาโนรายก ชูบัว พบว่า คุณค่าของโนรา มี 6 ด้าน คือ (1) ด้านร่างกาย ทำให้สรีระแข็งแรง ระบบไหลเวียนเลือดดี มีรูปร่างกำยำและบึกบึน (2) ด้านจิตใจ ทำให้มีสมาธิดี จิตใจได้ผ่อนคลายเป็นการใช้โนราเพื่อกล่อมเกลาจิตใจทั้งผู้ชมและผู้แสดง (3) ด้านสุนทรียศาสตร์ (4) ด้านจริยศาสตร์ เป็นการสอนผ่านบทกลอนโนราที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม (5) ด้านหัตถศิลป์(6) ด้านวรรณศิลป์
จากการศึกษาข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นเด็กและเยาวชนในชุมชนประธานคีรีวัฒน์ มีปัญหาทางด้านสุขภาพ ได้แก่ เป็นหวัดบ่อย หอบหืด อ้วน ขาดการออกกำลังกาย นอกจากนี้มีปัญหาการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่วนใหญ่มักหมดไปกับการเล่นมือถือ
ดังนั้น เพื่อให้เด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์ และใกล้เคียง มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตดี และได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ คณะกรรมการชุมชนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเด็กและยาวชนโดยการรำมโนราห์ การที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีในวันนี้ จะส่งผลหล่อหลอมให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและทำประโยชน์แก่สังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะการออกกำลังกาย ด้วยการรำมโนราห์ที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความยืดหยุ่นความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อและความสมดุลการทรงตัว เพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  3. กิจกรรมภาคปฎิบัติการ
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ
  5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
  6. กิจกรรมภาคปฏิบัติ โดยการออกกำลังกายด้วยการรำมโนราห์อย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา 3 เดือน
  7. จัดประชุมคณะทำงาน
  8. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพของเด็กและเยาวชน
  2. เด็กและเยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตดี
  3. เพื่ออนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะการออกกำลังกาย ด้วยการรำมโนราห์ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าอบรมมีคะแนนความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 2.ผู้ข้ารับการอบรมกำลังกายด้วยการรำมโนราห์ได้ถูกต้อง ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความยืดหยุ่นความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อและความสมดุลการทรงตัว เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าความยืดหยุ่น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความสมดุลย์การทรงตัวเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะการออกกำลังกาย ด้วยการรำมโนราห์ที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความยืดหยุ่นความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อและความสมดุลการทรงตัว เพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ (3) กิจกรรมภาคปฎิบัติการ (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ (5) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (6) กิจกรรมภาคปฏิบัติ โดยการออกกำลังกายด้วยการรำมโนราห์อย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา 3 เดือน (7) จัดประชุมคณะทำงาน (8) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์

รหัสโครงการ 64-l7890-02-004 รหัสสัญญา 5/2564 ระยะเวลาโครงการ 14 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กรกฎาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1 มีการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. โดยใช้ศาสตร์การมโนราห์วัตนธรรมพื้นถิ่น

2 ผู้สูงอายุและครูหมอโนราในพื้นที่มีการนำมโนราห์มาประยุกต์กับกิจกรรมทางกายแบบใหม่

1 จากจำนวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ของเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์

2 เกืดการเรียนรู้เชิงปฎิบัติการในการทำกิจกรรมทางกายโดยใช้ศาสตร์มโนราห์ร่วมกัน ระหว่างเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ครูหมอโนราห์ในพื้นที่

1 ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องโดยใช้ศาสตร์การรำมโนราห์

2 ควรมีการประยุกต์ ท่าโนราห์แบบใหม่ๆ พร้อมท่า ฤษีดัดตน เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย ยืดเหยีดกล้ามเนื้อก่อน รำมโนราห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

1 การสอนเด็กและเยาวชนนำเศษผ้าที่เหลือใช้มาใช้ในการเย็บผ้า เป็นอุปกรณ์ประยุกต์เป็นอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมทางกายโดยใช้ศาสตร์มโนราห์

เกิดอุปกรณ์ประยุกต์ในการรำมโหราห์

ควรมีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม และให้เด็กและเยาวชน ร่วมทำกิจกรรมกับผู้สูงอายุมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ผู้สูงอายุ ครูหมอโนราห์ในพื้นที่ เด็กและเยาวชน เข้าร่วมโครงการ มีการนำศาสตร์ท่าร่ายรำมโนราห์ มาประยุกต์ใช้กับการออกกำลังกาย มีการทำสื่อ คลิปวิดีโอ เพื่อเผยแพร่ในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่

เกิดคลิปวิดีโอ เป็นสื่อเผยแพร่ในพื้นที่ เพื่อให้คนในพื้นที่ เห็นความสำคัญของกิจกรรมทางกายในพื้นที่ และเป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรมในพืนที่ มาประยุกต์รูปแบบใหม่

ควรพัฒนาต่อโดยให้มี &หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ โดย การให้เด็กและเยาวชน ขยายผลต่อไปเผยแพร่การสร้างเสริมสุขภาพโดยการใช้ศาสตร์มโนราห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีกลุ่ม "หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ"

1 เกิดกลุ่มกิจกรรมทางกายในพื้นที่โดยใช้วัฒนธรรมพื้นที่
2 เกิดกลุ่ม หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

ควรให้หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ ขยายผลต่อกับกลุ่มใหม่ในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกิดแหล่งเรียนรู้รักสุขภาพโดยใช้ศาสตร์มโนราห์

มีแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพในพื้นที่ 1 แห่ง

ควรมีการขยาย แหล่งเรียนรู้ในชุมชนในหลายๆ มิติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1 ชุมชนมีการสร้างหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้ศาสตร์ โนราห์

เกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในพื้นที่

ในปีถัดไปควรมีการสร้างครัว เรือนต้นแบบ หรือบุคลต้นแบบ เพื่อให้เกิดความภาคภูมิในของคนในพื้นที่ และสามารถไปถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพให้ผู้อื่นได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

จากการทำกิจกรรมตามหลัก 3 อ

ควรมีการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยตามหลักโภชนาการ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และมีการใช้เสียงตามสาย เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพให้แก่คนในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการออกกำลังกายโดยใช้มโนราห์ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของพื้นที่ สามารถทำกิจกรรมทางกายนี้ได้ทุกกลุ่มวัย

จากการจัดกระบวนการทำกิจกรรมในพื้นที่

1 มีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม ในปีถัดไป

2 เพิ่มการประยุกต์ท่วงท่าใหม่ๆ พร้อมประดิษฐ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการออกกำลังกาย ให้เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

1 การเข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมทางกายโดยใช้ศาสตร์มโนราห์ ทำให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดปประโยชน์ ห่างไกลจาก อบายมุขต่างๆ มากขึ้น สุขภาพเด็กดีขึ้น

1 จากการคัดกรองสุขภาพ และการสังเกตุพฤติกรรมผู้เข้าร่วมโครงการ

1 ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2 ควรเพิ่มกิจกรรมทางกายในพื้นที่ให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

1 การออกกำลังกายโดยใช้มโนราห์ และการฟังทำนองมโนราห์ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการผ่อนคลายความเครียดมากขึ้น

2 การขยับร่างกายในการทำกิจกรรมทางกาย ทำให้ร่างกายผ่อนคลายความเครียด เป็นการเพิ่มออกซิเจนในร่างกาย มากขึ้น

1 จากการบันทึกสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย และจิดใจที่ดีขึ้น

ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1 การใช้ศาสตร์มโนราห์ในการประยุกษ์ใช้ให้เด็กและเยาวชนมีกิจกรรมทางกายมากขึ้น และเป็นการสืบสานประเพณี

1 การนำมโนราห์ มาใช้ประกอบในการทำกิจกรรมทางกาย

ควรมีการประยุกต์ใช้ท่วงท่า ให้ง่ายต่อการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

1 การสร้างหมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ เพื่อให้เด็กและเยาวชน ดูแล คนในครอบครัวของตนเอง โดยแนะนำผู้ปกครอง ผู้สูงอายุในบ้านให้ดูแลสุขภาพและถ่ายทอดท่วงท่าในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยใช้มโนราห์แบบง่ายๆ

1 จากการที่ หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ ลงไปถ่ายทอดความรุ้ให้แก่คนในครอบครัว

2 คนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพที่ดีขึ้น

1 ควรมีการทำกิจกรรมในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

2 ควรมีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

1 เกิดกลุ่มมโนราห์เด็กและเยาวชนในพื้นที่ เมื่อมีการจัดกิจกรรม หลายหน่วยงานจะเชิญเด็กไปรำมโนราเปิดงาน หรือการรำแก้บนต่างๆ ในพื้นที่

1 จากการทำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน นอกเหนือจากการทำกิจกรรมทางกายที่ทำเป็นประจำในพื้นที่

ควรมีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม ไปยังชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

1) บ้าน 1 หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

2) เด็กและเยาวชน อ่อนหวาน

1) เกิด หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

2) เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่ติดหวาน ลดการกิน ขนมขบเคียว น้ำอัดลม มากขึ้น

1) ควรมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และ เพื่มกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนในพื้นที่

2) มีการสร้างหมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ เพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงการทำกิจกรรมร่วมกับระหว่าง เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ ในพื้นที่

1 เกิดกลุ่มเครือรักษ์สุขภาพในพื้นที่ 2 หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

ควรมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

1) การให้ครูหมอโนราห์ แนะนำเป็นผู้นำในการทำกิจกรรมทางกายโดยใช้มโนราห์

จาการที่ครูหมอโนราในพื้นที่มาให้ความรู้ในการใช้ท่ามโนราห์อย่างถูกวิธี

ควรมีการเพิ่มแกนนำการออกกำลังกายโดยใช้มโนราห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

การออกกำลังกาย ด้วยการรำมโนราห์ อย่างต่อเนื่อง

แบบลงทะเบียนการเข้าร่วมโครงการ

ควรประชาสัมพันธ์และเชิญชวน เด็กและเยาวชน ในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเพิ่มมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

1) เกิดการภาคภูมิใจในการใช้วัฒนาธรรมพื้นบ้านตามศาสตร์มโนราห์ในการถ่ายทอดการทำกิจกรรมทางกายในพื้นที่
2) ผู้สูงอายุและครูหมอโนราในพื้นที่ รู้สึกภาคภูมิใจและมีคุณค่าในตนเอง

1) จากการทำกิจกรรมร่วมกันในพื้นที่ของ เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ ครูหมอโนราห์ และแกนนำในพื้นที่

ควรนำศิลปะและวัฒนธรรมอื่นๆ ในพื้นที่มาใช้ในการทำกิจกรรมทางกาย เพื่อไม่ให้ภวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นถิ่นหายไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-l7890-02-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชิต แก้วรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด