โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค(การส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน))
ชื่อโครงการ | โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค(การส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน)) |
รหัสโครงการ | 64-L2540-3-009 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน |
วันที่อนุมัติ | 4 มีนาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 10 มิถุนายน 2564 - 10 มิถุนายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 10 มิถุนายน 2564 |
งบประมาณ | 22,750.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอาซีรา ดาโอ๊ะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอายิ หะมาดุลลาห์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 11 มี.ค. 2564 | 10 มิ.ย. 2564 | 22,750.00 | |||
รวมงบประมาณ | 22,750.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 54 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนเด็กก่อนวัยเรียนที่มีปัญหาฟันผุ 55 | 55.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าแสดงออกการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บูรณาการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล ศูนย์เด็กเล็กบ้านละหานได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน จึงได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน เพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
55.00 | 5.00 |
2 | เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
55.00 | 10.00 |
3 | เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน สร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพ |
55.00 | 10.00 |
4 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
55.00 | 10.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 22,750.00 | 0 | 0.00 | 22,750.00 | |
10 มิ.ย. 64 | อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | 0 | 15,090.00 | - | - | ||
10 มิ.ย. 64 | การป้องกันโรคช่องปาก | 0 | 7,660.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 22,750.00 | 0 | 0.00 | 22,750.00 |
1.การลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. มีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 4. ผู้ปกครองและครูมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ม.ค. 2564 00:00 น.