กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุ
รหัสโครงการ L3037-64-003
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.จะรัง
วันที่อนุมัติ 25 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มกราคม 2564 - 29 มกราคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 58,313.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนียานี ขารี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.843,101.45place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 ม.ค. 2564 28 ม.ค. 2564 30,806.50
2 29 ม.ค. 2564 29 ม.ค. 2564 27,506.50
รวมงบประมาณ 58,313.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)
300.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติคั้งที่ 7 พ.ศ.2555 พบว่ากลุ่มวัยสูงอายุ 60-74 ปี ในเขตชนบทมีฟันผุที่ยังไม่ได้รับการักษา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของ การสูญเสียฟันในอนาคต ร้อยละ 51 ซึ่งสูงกว่าเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร ผู้สุงอายุในชนบทมีฟันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 20 ซึค่ จำนวนสูงกว่าผู้สุงอายุที่อยู่ในเมืองชัดเจนคือร้อยละ 63 และ 48 ตามลำดับ โดยเฉลี่ยทั้งประเทศ ผู้สุงอายุมีฟันใช้งานได้ม่น้อยกว่า 20 ซึ่ ร้อยละ 578 นอกจากนี้ ในผู้สุงอายุ 80-89 ปี พบ มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ ประมาณ 1 ใน 4 คือร้ยอละ 24 คู่สบฟันหลังเป็นตัวชี่้วัดสำคัญในการวัดประสิทธิภาพการบดเคี้่ยว ซึ่งควรมีอย่างน้อย 4 คู่สบ จึงจะเพียงพอต่อการบดเคี้ยว พบว่ามีเพียง 3 คู่/ คนในกลุ่มผู้สุงอายุ 60-74 ปี และลดลงอีกจนเหลือเพียง 1 คู่/คน เมื่ออายุ 80 ปี นั่นหมายถึง เมื่ออายุเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพในกาบดเคี้ยวอาหารของผู้สูงอายุไทยจะลดลง อย่างไรก็ตาม ผู้สุงอายุ 60-74 ปีที่อยู่ในชนบทร้อยละ 48 ยังคงมีคู่่สบฟันหลัง อย่างน้อย 4 คู่ ซึ่งสูงกว่าผู้สูงอายุในเขคเมือง และกรุงเทพมหานคร ที่มีเพียง ร้อยละ 37 และ 38 ตามลำดับ สถานการณ์ที่สะท้อนปัญหาที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องที่สำคัญต่อการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดทำโครงการมีแนวคิดการดำเนินงานคือ การสร้างความตระหนักการดูแลช่องปากด้วยตนเองของผู้สูงอายุและฝึกทักษะการแปรงฟันแบบ 222 (แปรงฟัน 2 เวลา 2 นาที งดอหารหลังแปรง 2 ชั่วโมง จัดบริการตรวจ ส่งเสริมป้แงดั้นและรักษาช่องปากเบื้องต้น ค้นหาผู้ที่จำเป็นต้องได้ฟันเทียม และส่งต่อเพื่อทำการรักษาหากมีความจำเป็น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง

300.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 140 58,313.00 1 58,313.00
28 - 29 ม.ค. 64 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการโดยให้ความรู้เรื่องการดูแลช่องปากและฟัน โดยแยกเป็นรายหมู่บ้าน หรือกลุ่มผู้สุงอายุ 140 คน ตรวจช่องปากและฟันดดยทันบุคลากร และเคลือบฟลูออไรด์เฉพาะที่ให้กับผู้สูงอายุที่ามีอารการเสียวฟัน หรือมีฟันผุบริเวณคอฟัน 140 58,313.00 58,313.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุสามารถดูแลช่องปกาและฟันของตนเองได้
2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปกาและคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2564 09:46 น.