กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนวัดสีหราษฎร์ศรัทธา ”

ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายฉลอง ภักดี

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนวัดสีหราษฎร์ศรัทธา

ที่อยู่ ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1468-05-03 เลขที่ข้อตกลง 01/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มกราคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนวัดสีหราษฎร์ศรัทธา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนวัดสีหราษฎร์ศรัทธา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนวัดสีหราษฎร์ศรัทธา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1468-05-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มกราคม 2564 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กำลังระบาดทั้งประเทศ ซึ่งในปัจจุบัน (18 มกราคม 2564) มีผู้ติดเชื้อสะสมในประเทศไทย จำนวน 12,423 คน มีผู้เสียชีวิต จำนวน 70 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จังหวัดตรังปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อแล้วจำนวน 5 ราย (ข้อมูลศูนย์COVID 19 จังหวัดตรัง : 18 มกราคม 2564) แพร่กระจายอยู่ในหลายพื้นที่ ซึ่งจังหวัดตรัง ได้มีประกาศจังหวัดตรัง ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง โดยกำหนดมาตรการป้องกันโรค ให้มีการบริการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือการคัดกรองการป่วยในระบบทางเดินหายใจ ให้สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า 100 เปอร์เซ็นต์ ให้อำนวยความสะดวกในการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อยหนึ่งเมตร ให้มีที่ล้างมือด้วยสบู่ แอลกอฮอล์เจลหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ให้มีการเช็ดทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของสถานที่ และให้มีการติดตั้งระบบแอปพลิเคชั่นติดตามตัว “ไทยชนะ” เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคจากพื้นที่ควบคุมสูงสุดตามคำสั่งศูนย์บริหารสถานการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้มีคำสั่งที่ 1/2564 ให้ 28 จังหวัดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด ซึ่งจังหวัดตรังได้มีมาตรการให้ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุด ให้รายงานตัวกับศูนย์ปฏิบัติควบคุมโรคระดับตำบลทันที่ที่เดินทางมาถึงจังหวัดตรัง ประกอบกับ ประกาศจังหวัดตรัง ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง กำหนดให้พื้นที่อำเภอเมือง เป็นพื้นที่เฝ้าระวังสูง และพื้นที่อื่นในจังหวัดตรังเป็นพื้นที่เฝ้าระวัง และคำสั่งจังหวัดตรังที่ 55/2564 ลงวันที่ 7 มกราคม 2564 เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนทองสีห์ รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุขของนักเรียน จึงต้องมีการมาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ เอกสาร ตรวจคัดกรอง ทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์ และทำความสะอาดพื้นที่สัมผัส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 123
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ได้ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แก่เด็กนักเรียนจำนวน 123 คน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ เอกสาร ตรวจคัดกรอง ทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์ และทำความสะอาดพื้นที่สัมผัส

วันที่ 27 มกราคม 2564 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน โดยครูเวร และครูประจำชั้น ให้ความรู้เรื่องอันตรายจากเชื้อโควิดและความรู้เรื่องการป้องกัน โดยซักซ้อมวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง กำชับการใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลา การรักษาระยะห่าง 2.ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางออนไลน์ และเอกสารแจ้งถึงผู้ปกครองให้ร่วมป้องกันเชื้อไวรัส และแจ้งวิธีปฏิบัติการเข้าสถานศึกษา โดยการกลั่นกรองสุขภาพ และกำชับให้นักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า 3.กิจกรรมตรวจกลั่นกรองสุขภาพประจำวัน โดยกำหนดจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายนักเรียนทุกคน ครูทุกคน และผู้ปกครองทุกคนที่เข้าบริเวณสถานศึกษา หากพบอุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ให้นั่งพักและตรวจซ้ำ หากอุณหภูมิยังสูง แนะนำให้ไปพบแพทย์
4.ติดตั้งแอปพริเคชั่น "ไทยชนะ" ขอความร่วมมือให้ครูและผู้ปกครองแสกนทุกครั้ง 5.ให้นักเรียนทุกคน สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงเรียน โดยทางสถานศึกษา จัดหาหน้ากากสำรองไว้สำหรับนักเรียนที่ไม่ได้สวมมา 6.ให้ครูจัดที่นั่งเรียนห่างกันอย่างน้อง 1 เมตร นั่งทานอาหารให้ห่างกันอย่างน้อย 1-2 เมตร และให้ล้างมือก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง 7.ให้ครูทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์ หรือสื่อทางการเรียน หลังจากนักเรียนสัมผัส ทุกวัน โดยน้ำยาฆ่าเชื้อ 8.ให้ทำความสะอาดพื้นที่สัมผัส ที่ราวบันได ประตูห้องน้ำ ฯลฯ เป็นประจำ ทั้งสถานศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แก่เด็กนักเรียนจำนวน 123 คน

 

123 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 123
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 123
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ เอกสาร ตรวจคัดกรอง  ทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์ และทำความสะอาดพื้นที่สัมผัส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงเรียนวัดสีหราษฎร์ศรัทธา จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1468-05-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฉลอง ภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด