กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู


“ โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไร ไม่ให้เสี่ยง เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายใสดีนา อูมา

ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไร ไม่ให้เสี่ยง เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64L70080209 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไร ไม่ให้เสี่ยง เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไร ไม่ให้เสี่ยง เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไร ไม่ให้เสี่ยง เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64L70080209 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเอดส์และภาวะการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เป็นปัญหาระดับชาติปัญหาหนึ่งซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทยและแพร่กระจายเข้าสู่กลุ่มแม่บ้านเยาวชนและเด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมากขึ้นรัฐบาลและจังหวัดจึงมียุทธศาสตร์ที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์จึงมีการสนับสนุนการรณรงค์ทุกรูปแบบที่จะให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มแม่บ้านเยาวชนและเด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงซึ่งปัญหาต่างๆเกิดจากความไม่พร้อมในด้านภาวะต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโรคเอดส์และภาวะการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่สนับสนุนให้ชุมชนสามารถดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโรคเอดส์และภาวะการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกัน ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรในระดับท้องถิ่น ให้สามารถริเริ่มแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมในท้องถิ่นให้เกิดความร่วมมือและเครือข่ายในทุกระดับ เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน และพัฒนาศักยภาพของชุมชนไปสู่การเป็นชุมชนที่เข้มแข็งห่างไกลปัญหาโรคเอดส์และภาวะการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ โรคเอดส์ ในโรงเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการดำเนินงานด้านการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด โรคเอดส์ และภาวะการณ์ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเป็นแกนนำเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคเอดส์ และเพศสัมพันธ์ในโรงเรียนและชุมชน
  2. ทำให้ลดพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์การมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน
  3. ทำให้กลุ่มติดเชื้อโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนลดลง
  4. ทำให้นักเรียนจัดกิจกรรมการรณรงค์เผยแพร่ความรู้เรื่องเอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด โรคเอดส์ และภาวะการณ์ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน

วันที่ 23 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. จัดประชุมชี้แจงคณะทำงานที่รับผิดชอบในการจัดทำโครงการ 2. จัดทำโครงการ เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางปู 3. ติดต่อประสานสถานที่อบรม วิทยากรในการอบรม

ขั้นดำเนินการ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด โรคเอดส์&nbsp; และภาวะการณ์ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์&nbsp; แก่กลุ่มเป้าหมาย&nbsp; ในระหว่าง กุมภาพันธ์&nbsp; –&nbsp; มิถุนายน&nbsp; 2564<br />
ขั้นประเมินผล

1. ประเมินการให้ความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย 2. สังเกตการมีส่วนร่วมของผู้เข้ารับการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเป็นแกนนำเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคเอดส์  และเพศสัมพันธ์ในโรงเรียนและชุมชน

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ โรคเอดส์ ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ทำให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเป็นแกนนำเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคเอดส์ และเพศสัมพันธ์ในโรงเรียน
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ตัวชี้วัด : ทำให้ลดพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์การมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการดำเนินงานด้านการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์
ตัวชี้วัด : ทำให้กลุ่มติดเชื้อโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ  โรคเอดส์ ในโรงเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้  ความเข้าใจ  และทักษะในการป้องกันตนเอง  และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์  และโรคเอดส์ ตลอดจน การสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการดำเนินงานด้านการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์  และโรคเอดส์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด โรคเอดส์  และภาวะการณ์ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์  แก่กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน  200  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไร ไม่ให้เสี่ยง เขตเทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64L70080209

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายใสดีนา อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด