กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการเด็ก 0-5ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวดีนา จินดาเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการเด็ก 0-5ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-14 เลขที่ข้อตกลง 4

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็ก 0-5ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็ก 0-5ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็ก 0-5ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4117-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาทันตสาธารณสุข เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยทุกช่วงวัยเมื่อมีปัญหาขึ้นมักมีผลต่อสุขภาพ อารมณ์ ภาวะเศรษฐกิจและความรู้สึกเจ็บป่วยของผู้ป่วย ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากและฟันปี 2560 ของอำเภอกาบัง พบว่า ในกลุ่มอายุ18 เดือนมีค่าฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ6.90 ในกลุ่มอายุ 3 ปี ฟันผุในฟันน้ำนมร้อยละ 22.53 ฟันผุในฟันแท้ใน กลุ่มอายุ6 ปี กลุ่มอายุ12 ปี มีฟันผุในฟันแท้ ร้อยละ 55.14 จากที่กล่าวมาเล็งเห็นว่าเด็กยังมีฟันผุ สาเหตุของการเกิดโรคในช่องปาก มักเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง อาหารการกิน การแปรงฟันที่ไม่ถูกวิธี การขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก ผลการสำรวจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ในปี2561 พบเด็กกลุ่มอายุ 3 ปีมีฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 29.09 เด็กกลุ่มอายุ 12 ปีมีฟันผุในฟันแท้ ถึงร้อยละ 75.0 ซึ่งในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มีกระบวนการป้องกันโรคฟันผุอยู่แล้ว อาทิเช่น มีการตรวจฟันในคลินิก WCC ซึ่งเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ยังไม่พอสำหรับการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในเด็ก 0-5 ปี และยังขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลานตนเอง แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดโรคฟันผุ โดยต้องมีการคัดกรองฟันผุตั้งแต่เริ่มแรก และฝึกทักษะผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก ทั้งเรื่อง การแปรงฟัน การเลือกบริโภคอาหาร และในปี 2563 ที่ผ่านมา ได้จัดทำโครงการทันตกรรมเชิงรุก Good teeth Smart kids Smart Techniqueมีเด็กได้รับการอุดฟัน จากกิจกรรมอุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ในเด็ก 2-5 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67ปีนี้จะมีการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวต่อจากปีที่ผ่านมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการเด็ก 0-5 ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ร่วมกับ เด็ก 0-5 ปีที่มีฟันน้ำนมผุ ได้รับการบริการทันตกรรมอย่างทั่วถึงมากขึ้น จึงจัดโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูและให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เกี่ยวกับทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
  2. เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 2-5 ปี
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น จากปี 2563

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับวีถีชุมชนให้กับผู้ปกครอง
  2. กิจกรรมพัฒนาการเข้าถึงและคุณภาพงานบริการรักษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองของเด็ก 0-5 ปี ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ และ ทักษะในการแปรงฟัน พร้อมทั้งสามารถเป็นครอบครัวตัวอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากของคนในชุมชนได้
  2. เด็ก 0-5 ปี มีโรคฟันผุลดลงจากเดิม
  3. เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับวีถีชุมชนให้กับผู้ปกครอง

วันที่ 20 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานกับอาสาสมัครสาธรณสุขเพื่อคัดเลือกผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ในชุมชนเข้าร่วมโครงการฯสุขภาพช่องปากเด็ก 0-5 ปี และเตรียมการดำเนินงาน
  2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการอบรม
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข
  4. จัดอบรมความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เกี่ยวกับทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช้องปากเด็กโดยแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม ออกเป็น 5 รุ่น
  5. ให้บริการรักษาทันตกรรม ดังนี้

- สำรวจกลุ่มเป้าหมาย (เด็ก 0-5 ปี)
- ดำเนินการตรวจฟันและสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน
- วิเคราะห์ข้อมูลแยกกลุ่มเด็กที่สมควรได้รับการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART
- อุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE เด็กอายุ 2-5 ปีที่มีฟันน้ำนมผุ ในหมู่บ้าน
- ติดตามประเมินผลประสิทธิภาพของการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART TECHNIQUE หลังให้บริการ 1 เดือน
6. สรุปผลการดำเนินโครงการ เพื่อนำเสนอต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มีกระบวนการป้องกันโรคฟันผุอยู่แล้ว อาทิเช่น มีการตรวจฟันในคลินิก WCC ซึ่งเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ยังไม่พอสำหรับการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในเด็ก 0-5 ปี และยังขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลานตนเอง แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดโรคฟันผุ โดยต้องมีการคัดกรองฟันผุตั้งแต่เริ่มแรก และฝึกทักษะผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก ทั้งเรื่อง การแปรงฟัน การเลือกบริโภคอาหาร และในปี 2563 ที่ผ่านมา ได้จัดทำโครงการทันตกรรมเชิงรุก Good teeth Smart kids Smart Techniqueมีเด็กได้รับการอุดฟัน จากกิจกรรมอุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ในเด็ก 2-5 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67ปีนี้จะมีการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวต่อจากปีที่ผ่านมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการเด็ก 0-5 ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ร่วมกับ เด็ก 0-5 ปีที่มีฟันน้ำนมผุ ได้รับการบริการทันตกรรมอย่างทั่วถึงมากขึ้น จึงจัดโครงการดังกล่าวขึ้น

 

0 0

2. กิจกรรมพัฒนาการเข้าถึงและคุณภาพงานบริการรักษา

วันที่ 20 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานกับอาสาสมัครสาธรณสุขเพื่อคัดเลือกผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ในชุมชนเข้าร่วมโครงการฯสุขภาพช่องปากเด็ก 0-5 ปี และเตรียมการดำเนินงาน
  2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการอบรม
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข
  4. จัดอบรมความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เกี่ยวกับทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช้องปากเด็กโดยแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม ออกเป็น 5 รุ่น
  5. ให้บริการรักษาทันตกรรม ดังนี้

- สำรวจกลุ่มเป้าหมาย (เด็ก 0-5 ปี)
- ดำเนินการตรวจฟันและสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน
- วิเคราะห์ข้อมูลแยกกลุ่มเด็กที่สมควรได้รับการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART
- อุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE เด็กอายุ 2-5 ปีที่มีฟันน้ำนมผุ ในหมู่บ้าน
- ติดตามประเมินผลประสิทธิภาพของการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART TECHNIQUE หลังให้บริการ 1 เดือน
6. สรุปผลการดำเนินโครงการ เพื่อนำเสนอต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มีกระบวนการป้องกันโรคฟันผุอยู่แล้ว อาทิเช่น มีการตรวจฟันในคลินิก WCC ซึ่งเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ยังไม่พอสำหรับการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในเด็ก 0-5 ปี และยังขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลานตนเอง แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดโรคฟันผุ โดยต้องมีการคัดกรองฟันผุตั้งแต่เริ่มแรก และฝึกทักษะผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก ทั้งเรื่อง การแปรงฟัน การเลือกบริโภคอาหาร และในปี 2563 ที่ผ่านมา ได้จัดทำโครงการทันตกรรมเชิงรุก Good teeth Smart kids Smart Techniqueมีเด็กได้รับการอุดฟัน จากกิจกรรมอุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ในเด็ก 2-5 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67ปีนี้จะมีการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวต่อจากปีที่ผ่านมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการเด็ก 0-5 ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ร่วมกับ เด็ก 0-5 ปีที่มีฟันน้ำนมผุ ได้รับการบริการทันตกรรมอย่างทั่วถึงมากขึ้น จึงจัดโครงการดังกล่าวขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูและให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เกี่ยวกับทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 2-5 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น จากปี 2563
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูและให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เกี่ยวกับทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก (2) เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 2-5 ปี (3) เพื่อให้เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น จากปี 2563

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับวีถีชุมชนให้กับผู้ปกครอง (2) กิจกรรมพัฒนาการเข้าถึงและคุณภาพงานบริการรักษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็ก 0-5ปี ฟันสวยใส ห่างไกลจากฟันผุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บาละ ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4117-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวดีนา จินดาเพ็ชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด