กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564 ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางถนอมสิน หิรัญสถิตย์

ชื่อโครงการ โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5284-01-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5284-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดโรคและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ สำหรับโรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทย พบว่าสตรีทุก 16 คนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมได้ 1 คนแม้ว่ามะเร็งเต้านม ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายในอัตราที่สูง แต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ และการพยากรณ์โรคค่อนข้างดี ถ้าสามารถตรวจพบและให้การรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่ง 80 เปอร์เซ็นต์ของมะเร็งเต้านม สามารถตรวจพบได้โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำให้ปฏิบัติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยาก สามารถปฏิบัติได้ง่ายด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆช่วยในการตรวจ ประหยัดเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่าร้อยละ 60 ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษาเมื่อระยะของโรคลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองแล้ว ทั้งนี้เนื่องมาจากสตรีเหล่านี้ ยังคงไม่มั่นใจในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง รวมทั้งบางรายยังขาดความรู้ ความเชื่อมั่น ในการตรวจเต้านม ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564 ขึ้นเพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด ตั้งเป้าหมายจะต้องได้ผลงาน ตามตัวชี้วัดที่กำหนด ดังนั้น จึงได้จัดทำแผนเร่งรัดสตรีอายุ 30-60 ปีรายใหม่ที่เหลือให้เข้ารับการตรวจ Pap smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 513 คน กำหนดมาตรการสำรวจกลุ่มเป้าหมายทุกพื้นที่ ค้นหา/จูงใจให้รับการตรวจ Pap smear ทุกราย กำหนดแนวทางการเก็บความครอบคลุม และติดตามการบันทึกผลงานลงโปรแกรมฯอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีผลผิดปกติและเป็นมะเร็ง ต้องได้รับการดูแลรักษาทุกรายและการรักษาต้องมีประสิทธิผลสูง หัวใจสำคัญ คือ การพัฒนากระบวนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด มุ่งเน้นองค์ความรู้และทักษะผู้ให้บริการ ระบบบริการมีคุณภาพได้มาตรฐาน และความร่วมมือของภาคีเครือข่ายชุมชนในการเผยแพร่และกระตุ้นเตือนสตรีให้ตระหนักในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้เกิดเป็นวิถีชีวิตในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพตนเองให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ30-70ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี2564

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปี ในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ25
2 .สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 70 ปี ในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 3. กลุ่มเป้าหมายที่พบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อและรักษาทุกราย (ร้อยละ 100)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ30-70ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก อย่างน้อยร้อยละ 25 2. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ30-70ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี2564

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรียุคใหม่ ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5284-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางถนอมสิน หิรัญสถิตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด