โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพจากสารเคมี ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เตรียมข้อมูลสถานะสุขภาพ ร่วมกับ อสม. พชต.พนางตุง ผู้นำชุมชน กลุ่มเป้าหมายในการคัดกรอง เอกสารการที่ฉีดพ่นยาฆ่าแมลงและประชาชนกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป (2) 2. พชต.พนางตุง ประชาสัมพันธ์ร่วมกับ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทราบ พร้อมนัด วัน เวลาและสถานที่ในการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเสี่ยง (3) 3. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส (4) 4. ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเสี่ยง (5) 5. จำแนกประชาชนที่ผลการตรวจพบระดับสารเคมีในเลือด ออกเป็น 4 ระดับประกอบด้วย ระดับไม่ปลอดภัย ระดับเสี่ยง ระดับปลอดภัย ระดับปกติ (6) 6. แจ้งผลการตรวจหาสารเคมีในเลือด ให้คำแนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีของเกษตรกร การเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษ การล้างผักและผลไม้สดอย่างถูกวิธี (7) 7. ประชาชนที่ผลการตรวจพบระดับสารเคมีในเลือด ระดับไม่ปลอดภัยและเสี่ยง แนะนำเข้าสู่กระบวนการขับสารพิษ คือการรับประทานชาชงรางจืด (8) 8. ประชาชนที่ผลการตรวจพบระดับสารเคมีในเลือด ระดับไม่ปลอดภัยและเสี่ยง ได้รับการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างซ้ำ (9) 9. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...