กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเบญจา จันทกูล

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-1-4 เลขที่ข้อตกลง /2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5300-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 142,465.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป้าหมายหลักหรือผลผลิตของบริการปฐมภูมิที่สำคัญมี 2 ประการคือ การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ( Selfcare ) และการส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็นอย่างเสมอภาคเป็นธรรม ซึ่งการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว กลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญคือการมีหมอประจำครอบครัว เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีญาติเป็นหมอและสามารถพึ่งพาได้ทุกเมื่อ และในปัจจุบันการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของคนในชุมชนลดลง จึงได้พัฒนานักสุขภาพครอบครัวเป็นหมอประจำครอบครัวเพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชนแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเด็กและสตรีกลุ่มเด็ก 0-5 ปีกลุ่มวัยเรียนกลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงานกลุ่มผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้สูงอายุ ทั้งนี้การสร้างแกนนำประจำครอบครัว เพื่อให้มีความรู้ด้านสุขภาพที่จำเป็นแก่ครัวเรือนสามารถช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพการป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค และพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งการให้บริการสุขภาพในชุมชนโดย“หมอครอบครัว”โดยนักสุขภาพประจำครอบครัว (นสค.) และอาสาสมัครสาธารณสุขโดยยกระดับเป็น “หมอประจำบ้าน” ที่จะร่วมกันพัฒนาระบบการออกให้บริการเชิงรุกทั้งการคัดกรองภาวะสุขภาพ การให้สุขศึกษา การแนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคไข้เลือดออก กลุ่มติดบ้านติดเตียง ผู้สูบบุหรี่ ผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการออกเยี่ยมบ้าน โดยการประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูล รายครัวเรือน รวมเป็น Community Folder (แฟ้มชุมชน) ของหมู่บ้านให้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้ โดยสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมมากที่สุด ชุมชนมีฐานข้อมูลได้รับทราบข้อมูลของตนเอง และนำฐานข้อมูลที่มีมาแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน ทำให้ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ256๔เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพของประชาชน ในพื้นที่รับผิดชอบให้ครบถ้วนสมบูรณ์โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนา Community Folder (แฟ้มชุมชน) และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้าน เข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การสร้างระบบกลไกโดยการสร้างแกนนำต้นแบบด้านเสร้างเสริมสุขภาพ
  2. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
  3. กิจกรรมประชุมสรุปผลงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,845
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทั่วไป (หลังคาเรือน) 2,845
อาสาสมัครประจำครอบครัว 86

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1.ทุกครัวเรือนมีหมอประจำครอบครัว 2.นสค.และ อสม.ร่วมกันทำงานเป็นทีมสุขภาพ ในการดูแลสุขภาพคนในชุมชน

ผลลัพธ์ 1.นสค.ทราบกลุ่มเป้าหมาย และสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ มีฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 2.ชุมชนทราบสถานะสุขภาพของตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนแก้ไขปัญหาของชุมชน ทุกกลุ่มเป้าหมายและสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การสร้างระบบกลไกโดยการสร้างแกนนำต้นแบบด้านเสร้างเสริมสุขภาพ

วันที่ 19 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ นสค. /อสม.
  2. จัดทำแผนงานการดำเนินงานในกิจกรรมโครงการ
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพ นสค./อสม. ในการจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัยและกิจกรรมเยี่ยมบ้าน เพื่อสรุปวิเคราะห์ข้อมูล แยกกลุ่ม ( วัยทำงาน,วัยรุ่น,วัยเรียน  วัยเด็ก,แม่และทารก,กลุ่มโรคเรื้อรัง DM/HT,ผู้พิการและผู้สูงอายุ,ผู้สูบบุหรี่,ผู้ดื่มสุรา ) ตามหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นสค.ทราบกลุ่มเป้าหมาย และสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ มีฐานข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

 

0 0

2. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำทะเบียน อสม.  สำรวจครัวเรือนและแบ่งเขตรับผิดชอบการดูแลครัวเรือน ให้ทีมหมอครอบครัว  อย่างชัดเจน  เป็นปัจจุบัน
  2. จัดทำแฟ้มข้อมูลประจำบ้านในเขตรับผิดชอบ
  3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล  บันทึกลง  โปรแกรม JHCIS

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทุกครัวเรือนมีหมอประจำครอบครัว 2.นสค.และ อสม.ร่วมกันทำงานเป็นทีมสุขภาพ ในการดูแลสุขภาพคนในชุมชน

 

0 0

3. กิจกรรมประชุมสรุปผลงาน

วันที่ 16 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนทราบสถานะสุขภาพของตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนแก้ไขปัญหาของชุมชน ทุกกลุ่มเป้าหมายและสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา)  ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” โดยมีกิจกรรม
1. ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ นสค. /อสม. ๒. จัดทำแผนงานการดำเนินงานในกิจกรรมโครงการ ๓. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพ นสค./อสม. ในการจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัยและกิจกรรมเยี่ยมบ้าน เพื่อสรุปวิเคราะห์ข้อมูล แยกกลุ่ม ( วัยทำงาน,วัยรุ่น,วัยเรียน วัยเด็ก,แม่และทารก,กลุ่มโรคเรื้อรัง DM/HT,ผู้พิการและผู้สูงอายุ,ผู้สูบบุหรี่,ผู้ดื่มสุรา ) ตามหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
4. จัดทำทะเบียน อสม. สำรวจครัวเรือนและแบ่งเขตรับผิดชอบการดูแลครัวเรือน ให้ทีมหมอครอบครัว อย่างชัดเจน เป็นปัจจุบัน
5. จัดทำแฟ้มข้อมูลประจำบ้านในเขตรับผิดชอบ 6. พัฒนาระบบฐานข้อมูล บันทึกลง โปรแกรม JHCIS โดยมีครัวเรือนที่สำรวจและบันทึกข้อมูลทั้งหมด2,845 ครัวแรือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนา Community Folder (แฟ้มชุมชน) และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ฐานข้อมูลเป็นปัจจุบัน ร้อยละ 80
35.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้าน เข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : มีการติดตามเยี่ยมตามกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80
50.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5776 5776
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,845 2,845
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนทั่วไป (หลังคาเรือน) 2,845 2,845
อาสาสมัครประจำครอบครัว 86 86

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนา Community Folder  (แฟ้มชุมชน) และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้าน  เข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างระบบกลไกโดยการสร้างแกนนำต้นแบบด้านเสร้างเสริมสุขภาพ (2) การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ (3) กิจกรรมประชุมสรุปผลงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564

รหัสโครงการ 64-L5300-1-4 รหัสสัญญา /2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

กลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญคือการมีหมอประจำครอบครัว เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีญาติเป็นหมอและสามารถพึ่งพาได้ทุกเมื่อ และในปัจจุบันการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของคนในชุมชนลดลง จึงได้พัฒนานักสุขภาพครอบครัวเป็นหมอประจำครอบครัว เพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน แก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการพัฒนา Community Folder (แฟ้มชุมชน) และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น “หมอครอบครัว”

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาระบบสุขภาพเชิงรุกในชุมชนโดย“หมอครอบครัว” ปีงบประมาณ2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเบญจา จันทกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด