กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ -ร้อยละ ๘๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ -ร้อยละ ๒๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
80.00 89.40

 

 

-ประชาชนเพศหญิงกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ร้อยละ 89.4 -สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 76 คน คิดเป็นร้อยละ 6.05

2 พัฒนาร้านอาหาร/ร้านชำ
ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร/ร้านชำที่ได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์ GFGT ร้อยละ ๘๐
80.00 100.00

 

 

-อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกปี2564 ลดลง ร้อยละ 36 จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนปี 2564 =24.9ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ 0.24 โรงเรียนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ 100(ไม่มีผู้ป่วย)

3 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๑๐ จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -โรงเรียน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ ๘๕ -อัตราป่วยโรคติดต่อลดลง
85.00 83.03

 

 

-ร้านอาหาร/ร้านชำที่ได้รับการตรวจประเมินทั้งหมด 97 ร้าน ผ่านเกณฑ์ GFGT 93 ร้าน  คิดเป็นร้อยละ 83.03

4 พัฒนาสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ ๗๐
70.00 89.60

 

 

-ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน (เว้นช่วงการระบาดของโรคโควิด-๑๙) -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากร้อยละ ๘๙.๖