กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ ๑ งานภาคประชาชน กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดมความคิดเห็นแกนนำ/อสม. จิตอาสาในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาในชุมชน จำนวน 6 ครั้ง ดังนี้ วันที่ 25 มีนาคม 2564 , 27 พฤษภาคม 2565, 30 มิถุนายน 2565 ,26 กรกฎาคม 2565 , 31 สิงหาคม 2565 และ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๕

    กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ     ๒.๑ กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก  ในชุมชน จำนวน 6 ครั้ง ดังนี้ วันที่ 26 มีนาคม 2564 ชุมชนเมืองเก่า , 19 เมษายน 2565 ชุมชนบ้านบน , 21 เมษายน 2565 ชุมชนดอนรัก , 20 พฤษภาคม 2565 ชุมชนมัสยิดบ้านบน , 23 พฤษภาคม 2565 ชุมชนสวนหมากและ      ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๕ ชุมชนโรงพยาบาลสงขลาเก่า

กิจกรรมที่ ๓ งานผู้สูงอายุ
    ๓.๑ กิจกรรมประชุมชมรมผู้สูงอายุที่จัดเป็นประจำเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของสมาชิก กิจกรรมสันทนาการ กิจกรรมออกกำลังกาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ การให้ความรู้ด้านสุขภาพ จำนวน 6 ครั้ง ดังนี้ วันที่      12 มีนาคม 2564 , 9 เมษายน 2564 , 8 เมษายน 2565 , 6 พฤษภาคม 2565,  17 มิถุนายน 2565 และ  ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๕

กิจกรรมที่ ๔ งานควบคุมโรคติดต่อ     ๔.๑ กิจกรรมประชุมสำรวจ/กำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชน วันที่ 17 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ ๕ งานสุขาภิบาลอาหาร/คุ้มครองผู้บริโภค
    ๕.๑ กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร/ร้านชำ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้ วันที่ 25 , 26 และ 29 สิงหาคม 2565

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ -ร้อยละ ๘๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ -ร้อยละ ๒๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
80.00 89.40

-ประชาชนเพศหญิงกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ร้อยละ 89.4 -สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 76 คน คิดเป็นร้อยละ 6.05

2 พัฒนาร้านอาหาร/ร้านชำ
ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร/ร้านชำที่ได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์ GFGT ร้อยละ ๘๐
80.00 100.00

-อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกปี2564 ลดลง ร้อยละ 36 จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนปี 2564 =24.9ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ 0.24 โรงเรียนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ 100(ไม่มีผู้ป่วย)

3 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๑๐ จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -โรงเรียน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ ๘๕ -อัตราป่วยโรคติดต่อลดลง
85.00 83.03

-ร้านอาหาร/ร้านชำที่ได้รับการตรวจประเมินทั้งหมด 97 ร้าน ผ่านเกณฑ์ GFGT 93 ร้าน  คิดเป็นร้อยละ 83.03

4 พัฒนาสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ ๗๐
70.00 89.60

-ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน (เว้นช่วงการระบาดของโรคโควิด-๑๙) -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากร้อยละ ๘๙.๖

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 85 85
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี (2) พัฒนาร้านอาหาร/ร้านชำ (3) การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (4) พัฒนาสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh