กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ


“ ศาสนานำพาประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ประจำปี 2564 ”

ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายฮามิ ตะเยาะ

ชื่อโครงการ ศาสนานำพาประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4148-2-016 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ศาสนานำพาประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ประจำปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ศาสนานำพาประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " ศาสนานำพาประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4148-2-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่เกิดขึ้นกับสุขภาพ เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ทุกคนควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้ การมีความสุขทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างฝั่งฝัน จากการสอบถามของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโร๊ะ พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี และประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุก ปีเช่นกัน (ข้อมูลในปีงบประมาณ ๒๕๖๓)ชุมชนโต๊ะอีโบ บ้านตันหยง มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๔๙ คน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๗ คน จากการเวทีประชาคมระดับหมู่บ้าน พบว่าประชาชนมีพฤติกรรมชอบกินอาหารรที่มีสชาติหวาน มัน เค็ม และมีพฤติกรรมที่ไม่ออกกำลังกาย มีความเครียด ซึ่งทางมัสยิดดารุสลาม โต๊ะอิโบ บ้านตันหยง โดยผู้นำ ศาสนาและเครือข่ายองค์กรในชุมชน ร่วมกันหาแนวทางเพื่อปรับเปลี่ยนประชาชนในชุมชนโต๊ะอิโบ บ้าน ตันหยงให้มีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและอยู่ในเกณฑ์ควบคุมได้ ๕๐% ของกลุ่ม ผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการศาสนานำพาประชาชนประชาขนปรัลเปลี่ยนพฤติกรรมชุมุชน ประปีจำ 2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน เป็นโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง 2.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง 3.กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมโรคได้ ร้อยละ ๕๐ 4.กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ ร้อยละ ๕๐
  2. เครือข่ายในชุมชนโต๊ะอีโบ ร่วมมือกันสนับสนุนการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชนเป็นอย่างดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการศาสนานำพาประชาชนประชาขนปรัลเปลี่ยนพฤติกรรมชุมุชน ประปีจำ 2564

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีการดำเนินการ ๑. ขั้นเตรียมการ ๑.๑ สำรวจและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ ๑.๒ ประชุมชี้แจงเครือข่ายในชุมชนโต๊ะอิโบเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัด กิจกรรมต่าง ๆ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย ๒. ขั้นดำเนินการ ๒.๑ อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายในชุมชนโต๊ะอีโบ เช่น ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อบต. และ ผู้นำตามธรรมชาติ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บาโระ ๒.๒ อบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและผู้ดูแลให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อนำสู่มรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บาโร๊ะ ๒.๓ นำประชุมผู้นำศาสนา ทบทวนบทบัญญัติศาสนา เพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และกลุ่มเสี่ยง ๒.๔อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การปฏิบัติตัวเพื่อนำสู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บาโร๊ะ ๒.๔ ผู้นำศาสนาเผยแพร่บทบัญญัติเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพ ในคุตบะห์วันศุกร์อย่างน้อยเดือนละ ๑-๒ ครั้ง เพื่อกระตุ้นประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒.๖ จัดทำไวนิลหลักการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมติดประจำมัสยิดดารุสลามโต๊ะอึโบ บ้านตันหยง ขนาด ๑X๑ เมตร ๒.๗ จัดทำไวนิลบทบัญญัติทางศาสนา ติดประจำมัสยิดดารุสลาม โต๊ะอีโบ บ้านตันหยง ขนาด ๑๕๒ เมตร ๒.๘ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เดือนละ ๑ ครั้ง ๆ ละ ๒0 คน เป็นระยะเวลา ๘ เดือน เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อไป ผลลัพธ์ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในแต่ละครั้ง ๒.๙ จัดทำสมุดบันทึกผลการตรวจความดันโลหิต เบาหวานในแต่ละครั้ง เพื่อเป็นการติดตาม ๒.๑๐ ประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายในชุมชน โดยมีผู้นำเป็นหลัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน เป็นโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
  2. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
  3. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมโรคได้ ร้อยละ ๕o
  4. กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ ร้อยละ ๕0
  5. เครือข่ายในชุมชนโต๊ะอึโบ ร่วมมือกันสนับสนุนการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชนเป็นอย่างดี

 

111 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและอยู่ในเกณฑ์ควบคุมได้ ๕๐% ของกลุ่ม ผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและอยู่ในเกณฑ์ควบคุมได้ ๕๐% ของกลุ่มผู้ป่วย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและอยู่ในเกณฑ์ควบคุมได้ ๕๐% ของกลุ่ม ผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการศาสนานำพาประชาชนประชาขนปรัลเปลี่ยนพฤติกรรมชุมุชน ประปีจำ 2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ศาสนานำพาประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน ประจำปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4148-2-016

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮามิ ตะเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด