โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5169-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5169-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตต้องเริ่มตั้งแต่ตั้งครรภ์แรกเกิด เด็กเป็นกลุ่มประชาการที่มีความสำคัญทั้งนี้เพราะเด็กในวัยเรียนเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตจากผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ยังพบว่ามีเด็ก ๐-๕ ปีมีพัฒนาการล่าช้าและขาดการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการจากผู้ปกครอง สาเหตุหลักเกิดจากผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูขาดความรู้และทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการ ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการล่าช้า ขาดการกระตุ้นติดตามและดูแลต่อเนื่อง ในส่วนของการส่งเสริมโภชนาการก็เช่นเดียวกัน ยังมีเด็กปฐมวัยที่มีโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และเกินเกณฑ์ ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลานจึงได้มีการจัดทำโครงการ ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี๒๕๖4
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี ๒๕๖๔
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองครูพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน
70
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องและสามารถส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ ให้แก่เด็กได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการสมวัยและมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลในการเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปได้
- เด็กปฐมวัยเด็กในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กตำบลทุ่งลานได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการและโภชนาการ,เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นและดูแลต่อเนื่อง
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับประเมินติดตามต่อเนื่องทุก 3 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี ๒๕๖๔
วันที่ 1 ตุลาคม 2563 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ประสานงานกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน
-จัดทำป้ายโครงการ ป้ายรณรงค์ ส่งเสริมพัฒนาและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน
-จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ
-ตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก และติดตามภาวะโภชนาการเด็ก หากพบเด็กที่ผิดปกติทางด้านโภชนาการ พัฒนาการ ติดตามเพื่อส่งต่อ แก้ไข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลานมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๑.๓ มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ร้อยละ ๗๔.๔
-ผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๔.๒
-เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและประเมินโภชนาการ ร้อยละ ๑๐๐
-เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นและดูแลต่อเนื่อง ร้อยละ ๑๐๐ ที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการประเมินติดตามต่อเนื่องทุก ๓ เดือน ร้อยละ ๑๐๐
ผลลัพธ์
-การส่งเสริมพัฒนาการในเด็กปฐมวัย เป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นพื้นฐานในอนาคตของเด็ก ซึ่งจากการที่ได้จัดทำโครงการทำให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเพิ่มขึ้น และรู้วิธีการที่จะส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการตามวัยได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะทำให้เด็กเหล่านี้เติบโตมีพัฒนาการตามวัยและโภชนาการที่ดี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ปกครองครูพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน
70
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี ๒๕๖๔
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5169-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน
กันยายน 2564
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5169-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5169-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตต้องเริ่มตั้งแต่ตั้งครรภ์แรกเกิด เด็กเป็นกลุ่มประชาการที่มีความสำคัญทั้งนี้เพราะเด็กในวัยเรียนเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตจากผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ยังพบว่ามีเด็ก ๐-๕ ปีมีพัฒนาการล่าช้าและขาดการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการจากผู้ปกครอง สาเหตุหลักเกิดจากผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูขาดความรู้และทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการ ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการล่าช้า ขาดการกระตุ้นติดตามและดูแลต่อเนื่อง ในส่วนของการส่งเสริมโภชนาการก็เช่นเดียวกัน ยังมีเด็กปฐมวัยที่มีโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และเกินเกณฑ์ ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลานจึงได้มีการจัดทำโครงการ ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี๒๕๖4
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี ๒๕๖๔
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ปกครองครูพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน | 70 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องและสามารถส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ ให้แก่เด็กได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการสมวัยและมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลในการเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปได้
- เด็กปฐมวัยเด็กในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กตำบลทุ่งลานได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการและโภชนาการ,เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นและดูแลต่อเนื่อง
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับประเมินติดตามต่อเนื่องทุก 3 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี ๒๕๖๔ |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2563 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ประสานงานกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน -จัดทำป้ายโครงการ ป้ายรณรงค์ ส่งเสริมพัฒนาและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน -จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ -ตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก และติดตามภาวะโภชนาการเด็ก หากพบเด็กที่ผิดปกติทางด้านโภชนาการ พัฒนาการ ติดตามเพื่อส่งต่อ แก้ไข ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลานมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๑.๓ มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ร้อยละ ๗๔.๔
-ผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๔.๒
-เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งลาน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและประเมินโภชนาการ ร้อยละ ๑๐๐
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ปกครองครูพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน | 70 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี ๒๕๖๔
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลาน ปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5169-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......