ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสุรเชษฐ ชูกลิ่น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน
มิถุนายน 2564
ชื่อโครงการ ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8281-1-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32
บทคัดย่อ
โครงการ " ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8281-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก เพื่อให้แม่และลูกปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด เด็กได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องเหมาะสมเจริญเติบโตสมวัย ซึ่งเชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ ให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน เริ่มตั้งแต่การร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จึงเป็นการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพงานแม่และเด็กอย่างครอบคลุมทั้งมาตรฐานการจัดบริการในสถานบริการสาธารณสุข ตลอดจนการขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานในชุมชน เพื่อผลลัพธ์ที่ดีของสภาวะสุขภาพแม่และเด็ก อย่างไรก็ตามภาพรวมระดับเขต แม่และเด็กยังมีภาวะเสี่ยงทั้งในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนที่ครอบคลุมทุกกลุ่มประเภทและทุกกลุ่มอายุ
2.มีการขับเคลื่อนกิจกรรมการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับการอบรมทุกปี เป็นผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และให้คำแนะนำ ให้ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ อย่างต่อเนื่อง
3.หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความตระหนักในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด ตลอดจนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
1.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 50คน เป็นเงิน 2500 บาท
2.ค่าอาหารว่าง 25 บาทx 2 มื้อx 50 คน เป็นเงิน 2500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการตั้งครรภ์เพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพ ปัญญาดี ครบ ๓๒ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กลุ่มเป้าหมายคือหญิงวัยเจริญพันธุ์ จำนวน ๕๐ คน ได้เข้ารับการประชุมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
50.00
80.00
2
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ70 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว
50.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ (2) หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8281-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุรเชษฐ ชูกลิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสุรเชษฐ ชูกลิ่น
มิถุนายน 2564
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8281-1-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32
บทคัดย่อ
โครงการ " ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8281-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก เพื่อให้แม่และลูกปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด เด็กได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องเหมาะสมเจริญเติบโตสมวัย ซึ่งเชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ ให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน เริ่มตั้งแต่การร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จึงเป็นการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพงานแม่และเด็กอย่างครอบคลุมทั้งมาตรฐานการจัดบริการในสถานบริการสาธารณสุข ตลอดจนการขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานในชุมชน เพื่อผลลัพธ์ที่ดีของสภาวะสุขภาพแม่และเด็ก อย่างไรก็ตามภาพรวมระดับเขต แม่และเด็กยังมีภาวะเสี่ยงทั้งในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนที่ครอบคลุมทุกกลุ่มประเภทและทุกกลุ่มอายุ 2.มีการขับเคลื่อนกิจกรรมการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับการอบรมทุกปี เป็นผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และให้คำแนะนำ ให้ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ อย่างต่อเนื่อง 3.หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความตระหนักในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด ตลอดจนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำประชุมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการตั้งครรภ์เพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพ ปัญญาดี ครบ ๓๒ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กลุ่มเป้าหมายคือหญิงวัยเจริญพันธุ์ จำนวน ๕๐ คน ได้เข้ารับการประชุมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ |
50.00 | 80.00 |
|
|
2 | หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว ตัวชี้วัด : ร้อยละ70 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว |
50.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด และความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของนมแม่ (2) หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อลูกน้อยในครรภ์เกิดรอด สุขภาพดี ปัญญาดี ครบ 32 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L8281-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุรเชษฐ ชูกลิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......