กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ ตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
ดียานา ประจงไสย

ชื่อโครงการ ตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-50103-02-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2560 ถึง 17 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " ตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-50103-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2560 - 17 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากส่งผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ทั้งด้านสุขภาพ อารมณ์ และสังคม โดยเฉพาะความรู้สึกเจ็บปวดกรมอนามัย โดยกองทันตสาธารณสุข ได้ทำการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพ พบว่า ปัญหาสุขภาพช่องปากที่เป็นปัญหาหลักในกลุ่มผู้สูงอายุ ได้แก่ 1. การสูญเสียฟัน ผู้สูงอายุมีการสูญเสียฟันร้อยละ 92 หรือประมาณ 4 ล้านคน นำไปสู่ความจำเป็นในการใส่ฟันเทียมซึ่งเป็นเทคโนโลยีเฉพาะ มีค่าใช้จ่ายสูง
2. ผู้ที่มีฟันในช่องปาก เป็นโรคฟันผุร้อยละ 96 เป็นโรคปริทันต์ร้อยละ 62 มีฟันผุที่รากฟัน ร้อยละ 20 ในส่วนของการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง พบว่า มีการแปรงฟันร้อยละ 85 แต่แปรงฟันถูกเวลาคือหลังตื่นนอนตอนเช้าและก่อนนอนเพียงร้อยละ 31 วิธีแปรงส่วนใหญ่เป็นแบบถูไปถูมา มีการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ร้อยละ 23 ผู้สูงอายุจึงมีโอกาสสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
เทศบาลตำบลบาลออาศัยอำนาจตามความในมาตรา 54 (11) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496แก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่1๓) พ.ศ. 25๕๒ ว่าด้วยเรื่องการส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ จึงจัดทำโครงการตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุปีงบประมาณ 2560 เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ และความจำเป็นที่ผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลด้านการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อลดการสูญเสียฟันอย่างเป็นระบบ ทั้งการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง การรับบริการส่งเสริมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ร่วมไปกับการรักษาและการใส่ฟันเทียมในระบบบริการปกติ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมีสุขภาพช่องปากดี สามารถดำรงตนอย่างมีคุณภาพชีวิตจนตลอดอายุขัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเอง ร้อยละ 70
  2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70
  3. สร้างความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 408
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเองได้ดียิ่งขึ้น
    2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข
    3. สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลังจากดำเนินโครงการไปแล้ว พบว่าผู้สูงอายุมีความพึงพอใจกับการจัดโครงการครั้งนี้ เพราะได้พบปะเพื่อน ญาติพี่น้อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้รับคำแนะนำด้านโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และตรวจคัดกรองโรคจนพบ ผู้สูงอายุที่เป็นมะเร็งช่องปากระยะที่ 3 และนำส่งตัวเพื่อรักษาโรคต่อไป

     

    408 408

    2. ตรวจสุขภาพช่องปาก

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หลังจากดำเนินโครงการไปแล้ว พบว่าผู้สูงอายุมีความพึงพอใจกับการจัดโครงการครั้งนี้ เพราะได้พบปะเพื่อน ญาติพี่น้อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้รับคำแนะนำด้านโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และตรวจคัดกรองโรคจนพบ ผู้สูงอายุที่เป็นมะเร็งช่องปากระยะที่ 3 และนำส่งตัวเพื่อรักษาโรคต่อไป

     

    352 358

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2560 จัดทำเพื่อให้ผู้สูงอายุ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเอง ตรวจสุขภาพช่องปากเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ และได้รับการดูแลที่ถูกต้องจากเจ้าหน้าสาธารณสุขพร้อมสร้างความร่วมมือของทุกฝ่ายในการแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ มีกิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้สูงอายุ โครงการตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2560 มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 408 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เฉลี่ยวันละ 136 คน ซึ่งเป็นจำนวนที่พอเหมาะกับวิทยากรในการตรวจสุขภาพและจัดกลุ่มในการทำกิจกรรมในแต่ละวัน จำนวนผู้สูงอายุที่ตรวจสุขภาพและช่องปาก จำนวน 352 คน พบผู้สูงอายุที่มีรอยโรค นำส่งรักษาต่อโรงพยาบาล 1 ท่าน ตรวจสอบภายหลังพบว่าเป็นมะเร็งในช่องปากระยะ 3 ขณะนี้ รักษาตัว ณ โรงพยาบาลหาดใหญ่ พบผู้สูงอายุที่มีฟันปลอมทั้งปาก 48 คน พบผู้สูงอายุที่มีต้องการใส่ฟันปลอม จำนวน 8 คน ส่วนที่เหลือ มีฟันแท้อยู่บ้างและไม่ต้องการใส่ฟันปลอม สามารถบดเคี้ยวได้ หลังจากดำเนินโครงการไปแล้ว พบว่าผู้สูงอายุมีความพึงพอใจกับการจัดโครงการครั้งนี้ เพราะได้พบปะเพื่อน ญาติพี่น้อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้รับคำแนะนำด้านโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และตรวจคัดกรองโรคจนพบ ผู้สูงอายุที่เป็นมะเร็งช่องปากระยะที่ 3 และนำส่งตัวเพื่อรักษาโรคต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเอง ร้อยละ 70
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70
    ตัวชี้วัด :

     

    3 สร้างความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 408
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 408
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปากของตนเอง ร้อยละ 70 (2) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 (3) สร้างความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ตรวจสุขภาพช่องปากและแก้ไขปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-50103-02-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ดียานา ประจงไสย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด