โครงการรู้ทันเท่าทันวัคซีน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ชื่อโครงการ | โครงการรู้ทันเท่าทันวัคซีน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค |
รหัสโครงการ | 64-50115-01-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
วันที่อนุมัติ | 31 มีนาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2564 |
งบประมาณ | 15,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวเจ๊ะไซต๊ะ เจ๊ะนุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 7 เม.ย. 2564 | 7 เม.ย. 2564 | 15,600.00 | |||
รวมงบประมาณ | 15,600.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของ รพ.สต.กาวะ อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ในรอบปีที่ผ่านมาปรากฏว่า กลุ่มเด็ก 0-5 ปี ที่มารับบริการได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุมตามวัคซีนขั้นพื้นฐาน | 40.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญ มีที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจจะเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดามารดาและครอบครัว คือบุคคลที่มีบนบาทสำคัญของการเลื้ยงดูเด็กและสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดามารดาและครวบครัว ขาตความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นถึงความสำคัญของการเลื้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความควบคุใของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ร้อยละ 90 นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุขโดยการสนับสนุนของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดให้มีการบริการวัคซีนแก่เด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องไปจนถึงวัยเรียนซึ่งเก็กทุกคนควรได้รับวัคซีนอย่างน้อยตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ซึ่งทางกระทรวง ฯ ได้บริการให้ฟรีโดยเด็กทุกคนสามารถรับวัคซีนหล่าวนี้ได้จากสถานพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่งและควรได้รับวัคซีนทุกช่วงอายุ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างเสริมภุมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี จึงจัดทำโครงการวัคซีนเพื่อลูกรัก 2564
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-5 ปี) ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จำนวนเด็กเล็ก(0-5 ปี) ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์(คน) |
40.00 | 40.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 15,600.00 | 1 | 15,600.00 | |
1 พ.ค. 64 - 31 ก.ค. 64 | จัดอบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ของการได้รับวัคซีน และเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพเด็ก | 0 | 15,600.00 | ✔ | 15,600.00 |
1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ 2 ติดต่อประสานงานหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมดำเนินการ 3 ดำเนินโครงการ 4 รายงานผลและประเมินผลโครงการ
1.เด็ก(0-5 ปี) ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์อายุ
2.อัตราป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง
3.ชุมชนมีความตระหนักและทราบถึงบทบาทในการทำงานด้านการสร้างเสริมภุมิคุ้มกันโรคจำนวนเด็กเล็ก(0-5 ปี)ได้รับวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2564 00:00 น.