กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุณแม่รุ่นใหม่ใส่ใจโภชนาการ ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L4142-01-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดล
วันที่อนุมัติ 27 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 9,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสปีน๊ะ มะเร๊ะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.551,101.166place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 24 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล โภชนาการมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก อัตราการเจริญเติบโตจะเร็วที่สุดในช่วงเป็นทารก และลดลงเมื่อเด็กอายุเพิ่มขึ้น ดังนั้นโภชนาการที่ดีจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากร่างกายต้องการเสริมสร้างการเจริญเติบโตแ
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลและมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน 2 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ถูกต้อง

1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลและมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ70 2 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. อบรมผู้ปกครอง จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้

- ครั้งที่ 1 การให้ความรู้ทฤษฎี และฝึกปฏิบัติ เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแลบุตร - ครั้งที่ 2 จัดอบรมหลังจากอบรมครั้งแรก 2 เดือน โดยการเสริมพลังให้ผู้ปกครองมีความเชื่อมั่นในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของบุตร นำปัญหาที่พบมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และหาทางแก้ปัญหา 2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พร้อมด้วย ตัวแทนชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน เยี่ยมบ้าน ติดตามโภชนาการของเด็ก ทุก 2 เดือน 3. ประเมินภาวะโภชนาการของเด็ก หลังจากอบรมครบ 6 เดือน โดยจัดเวทีติดตามผลการดำเนินงาน(แลกเปลี่ยนเรียนรู้) โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมาย เป็น 2 กลุ่ม เพื่อประเมินภาวะสุขภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา ข้อจำกัดที่เกิดขึ้น 4. สรุปผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลและมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ70 2 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2564 11:48 น.