กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนคนรุ่นใหม่ ต้านภัยยาเสพติด
รหัสโครงการ 64-L2511-2-27
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านบากง
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 28,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางประณีต สุริยงค์
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวซากีนา ดอเล๊าะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสุรา
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 230 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ยาเสพติดในประเทศไทยเผชิญกับปัญหาภาวะการขยายตัวของการผลิตยาเสพติดในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำส่งผลให้ สถานการณ์การลักลอบนำยาเสพติดรุนแรงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี๒๕๖๐ เป็นต้นมา ทั้งในด้านความถี่และปริมาณ ที่ลักลอบนำาเข้าต่อครั้ง เหตุปัจจัยสำคัญยังคงมาจากสถานการณ์ภายนอกประเทศเป็นหลัก ข้อมูลสถิติการจับกุม คดียาเสพติดของส านักงานตำรวจแห่งชาติจากระบบสารสนเทศของตำรวจ (POLIS) ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สามารถจับกุมคดียาเสพติดทั้งหมด ๓๕๙,๖๘๘ คดีผู้ต้องหา ๓๘๑,๔๗๕ คน ตรวจยึดยาเสพติดได้ดังนี้ ยาบ้า ๕๑๗ ล้านเม็ด ไอซ์๑๖,๒๖๕.๗ กิโลกรัม เฮโรอีน ๙๔๑.๘ กิโลกรัม และคีตามีน ๗๓๓.๑ กิโลกรัม พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง การลักลอบน าเข้าส่วนใหญ่เป็นการลักลอบนำเข้าใบกระท่อม จากประเทศมาเลเซีย โดยพบว่าเป็นการลักลอบนำเข้าผ่านช่องทางด่านศุลกากรและช่องทางตามธรรมชาติ ตามแนวชายแดนไทย - มาเลเซีย ในพื้นที่ อำเภอสะเดา อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ มีการจับกุมคดีพืชกระท่อมและตรวจยึดของกลางในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างได้มากถึง ๖๗.๘๕ ตัน นอกจากนี้ยังปรากฏการลักลอบ นำเข้าไอซ์ยาอีและ อีริมิน ๕ จากมาเลเซีย แต่เป็นการลักลอบนำเข้ามา ในปริมาณเล็กน้อยเพื่อไว้ใช้เสพในพื้นที่หรือตามสถานบันเทิงต่าง ๆ เท่านั้น เด็กและเยาวชน เป็นเป้าหมายของขบวนการยาเสพติดเนื่องจากเป็นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งปัจจัยจากตนเอง คือ เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ ต้องการค้นหาสร้างตัวตนสร้างการยอมรับ มีแรงผลักดันทางอารมณ์สูง กล้าเสี่ยง กล้าทำสิ่งท้าทาย นอกจากนี้ นักค้ายาเสพติดต่างมองว่า เยาวชนส่วนใหญ่มีเงิน จึงมีความมั่นใจว่าการค้ายาเสพติดกับเยาวชนนั้น จะทำให้มีลูกค้าอยู่สม่ำเสมอ จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลง ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องเรียนรู้วิธีป้องกันยาเสพติดในเด็กและเยาวชน เพื่อจะได้สามารถร่วมมือกันปกป้องเด็กและเยาวชน จากปัญหายาเสพติด โรงเรียนบ้านบากง จึงได้จัดโครงการ “เยาวชนคนรุ่นใหม่ ต้านภัยยาเสพติด” ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้นักเรียน ได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
  1. ร้อยละ90นักเรียนมีความรู้เกียวกับปัญหาและพิษภัยของยาเสพติดมากยิ่งขึ้น
230.00
2 2. สถานศึกษาเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมากขึ้น

ร้อยละ 90 สถานศึกษาปลอดยาเสพติด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 28,300.00 2 28,300.00
1 มิ.ย. 64 - 31 ก.ค. 64 โครงการเยาวชนคนรุ่นใหม่ ต้านภัยยาเสพติด 0 24,850.00 24,850.00
1 มิ.ย. 64 - 31 ก.ค. 64 กิจกรรมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด 0 3,450.00 3,450.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติดและสามารถนำองค์ความรู้ในการป้องกันสุขภาพจากพิษภัยยาเสพติดได้ 2สถานศึกษา มีความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2564 00:00 น.