กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวการีมา หะยีสะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคดำเนินไปโดยมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์สูงที่สุดบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรทราบนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้วหมู่บ้านชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคตฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไปงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช้ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรคและกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่โดยประสานให้มีความสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานโภชนาการ งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ในรอบปี 2563 ผลงานจากHDC ปรากฏว่า เด็กอายุครบ 1 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิด( fully immunization ) คิดเป็นอัตราร้อยละ 46.55 เด็กอายุครบ 2 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิดคิดเป็นอัตราร้อยละ 39.53 เด็กอายุครบ 3 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิดคิดเป็นอัตราร้อยละ 20.56 และเด็กอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิดคิดเป็นอัตราร้อยละ 34 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ว่าเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 90.00 ยกเว้นวัคซีน หัด หัดเยอรมัน คางทูม (MMR) ร้อยละ 95 ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯจากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่า เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุม จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับวัคซีนพื้นฐานแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปีที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  3. เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานให้กับทีมงาน อสม.
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. กิจกรรมรณรงค์การรับวัคซีนตามเกณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 138
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  2. ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน
  3. ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานให้กับทีมงาน อสม.

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างเเละเครื่องดื่ม 25 บาท X 38 คน X2 มื้อ เป็นเงิน 1900 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 38 x 1 มื้อ เป็นเงิน 1900 บาท

ค่าวัสดุอุปกรณ์

-ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร 60 บาท X 38 ใบ เป็นเงิน 2280 บาท

-ค่าปากกา 5 บาท X 38 ด้าม เป็นเงิน 190 บาท

-ค่าสมุดบันทึก 10 บาท X 38 เล่ม เป็นเงิน 380 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กอายุ 0-5ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

38 0

2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 100 คน X 1 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท

-ค่าอาหารว่าง 25 บาท X 100 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท

-ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 เมตร X 3.0 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท

-ค่าสื่อการสอนเรื่องวัคซีน 500 บาท X 2 ชุด เป็นเงิน 1000

-ค่าโปสเตอร์ความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนตามเกณฑ์ 18 บาท X 100 แผ่น เป็นเงิน 1800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

100 0

3. กิจกรรมรณรงค์การรับวัคซีนตามเกณฑ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าป้ายไวนิลรณรงค์การรับวัคซีนในเด็กขนาด 1.0 เมตร X 2.5 เมตร จำนวน 6 ป้าย เป็นเงิน 3750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

พบว่าเด็กแรกเกิด-อายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน BCG และ HBV 1 คิดเป็นร้อยละ 100 วัคซีนหัด/หัดเยอรมัน (MMR1) คิดเป็นร้อยละ 80.64 วัคซีนคอตีบ บาดทะบัก ไอกรน (DHB 3) และโปลีโอ (OPV 3) คิดเป็นร้อยละ 16.67 อายุครบ 2 ปี วัคซีนคอตีบ บาดทะบัก ไอกรน (DTP 4) และโปลีโอ (OPV 4) คิดเป็นร้อยละ 35.48 วัคซีนไข้สมองอักเสบ (JE 1) คิดเป็นร้อยละ 41.93 อายุครบ 3 ปี วัคซีนไข้สมองอักเสบ (JE 2) คิดเป็นร้อยละ 51.42 วัคซีนหัด/หัดเยอรมัน (MMR 2) คิดเป็นร้อยละ 48.57 อายุครบ 4 ปี วัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTP 5) , โปลิโอ (OPV 5) คิดเป็นร้อยละ 24.00

ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัญหา จะเห็นได้ว่าตัวชี้วัดการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ คือในเด็กอายุ 1 ปี , 2 ปี , 3 ปี และ 4 ปี ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ยังคงต้องดำเนินการและหาวิธีการแก้ปัญหาต่อไปเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในงานและเพื่อป้องกันโรคที่อาจจะเกิดจากการไม่รับวัคซีน อีกทั้งเพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้เลี้ยงดูเด็ก เกิดความตระหนักในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แต่ในปี 2565 อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเท่ากับ 0

ปัญหา/อุปสรรค การมารับบริการวัคซีนในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ยังไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19

แนวทางการแก้ไข ยังคงมีการติดตามอย่างต่อเนื่องโดย อสม./ จนท.รพ.สต. และอยากให้ทีมภาคีเครือข่ายในชุมชน มีส่วนร่วมในการติดตามในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับวัคซีนพื้นฐานแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปีที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน และยินยอมให้บุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์
70.00 100.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กได้รับวัคซีนแต่ละชนิดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และร้อยละ 95 ในวัคซีนป้องกันโรคหัด
95.00 100.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเท่ากับ 0
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 138 138
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 138 138
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับวัคซีนพื้นฐานแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปีที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานให้กับทีมงาน อสม. (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (3) กิจกรรมรณรงค์การรับวัคซีนตามเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-1 รหัสสัญญา 2/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อเด็กและประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลยาบี เพื่อดำเนินการส่งเสริมและให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับวัคซีนพื้นฐานแก่เด็ก 0 – 5 ปี รวมทั้งส่งเสริมการให้บริการฉีดวัคซีนในเด็กครบตามเกณฑ์ เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และเป็นการสนับสนุนการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่นตาม ข้อ 10 (1) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

1.เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-5 ปี

2.ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต.ยาบี เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564

3.ประชุม อสม.เพื่อชี้เเจงแนวทางการปฏิบัติงานในโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564

4.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครอง

5.อสม.ติดตามเคาะประตูบ้านให้เด็กมารับบริการวัคซีนตามนัด

6.ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยินยอมมารับบริการที่ รพ.สต.

7.จัดรณรงค์การรับวัคซีนตามเกณฑ์ โดยติดป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ตามหมู่บ้านในตำบล

8.สรุปประเมินผลโครงการ

1.เด็กอายุ 0-5ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานให้กับทีมงาน อสม. จำนวน 38 ราย

2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ปกครอง

3.จัดกิจกรรมรณรงค์การรับวัคซีนตามเกณฑ์ ในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ตำบลยาบี

4.สรุป และประเมินผลการจัดโครงการ

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคย

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

3.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อเด็กและประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลยาบี เพื่อดำเนินการ ส่งเสริมและให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับวัคซีนพื้นฐานแก่เด็ก 0 – 5 ปี รวมทั้งส่งเสริมการให้บริการฉีดวัคซีนในเด็กครบตามเกณฑ์ เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และเป็นการสนับสนุนการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่นตาม ข้อ 10 (1) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการวัคซีนครบตามเกณฑ์

2.ผุ้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวัคซีนและสามารถแนะนำเพื่อนบ้าน ให้พาบุตรหลานมารับวัคซีน

4.ไม่พบการระบาดด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-

 

โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนตามเกณฑ์ในเด็กตำบลยาบี ประจำปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวการีมา หะยีสะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด