กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปี 2564 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายปลอด ทองคง

ชื่อโครงการ แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325642002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L336325642002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลบ้านนา โรงพยาบาลศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำใน ได้ร่วมกันทำการศึกษาปัญหาเชิงลึกในบริบทของตำบลบ้านนา ว่า ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของกลุ่มคนที่มีภาวะติดเตียงจากโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่ตำบลบ้านนา มีปัจจัยเสี่ยง เหตุผลสืบเนื่องใดที่ทำให้มีกลุ่มคนติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดสมอง และผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากมีภาวะติดบ้านติดเตียงทั้งต่อผู้ป่วยเอง ต่อครอบครัวและชุมชน เพื่อนำข้อมูลไปสู่การแก้ไขปัญหาในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมให้สถิติการเสียชีวิตและสถิติกลุ่มคนติดบ้านติดเตียงลดลงเมื่อเทียบกับสถิติปีที่ผ่านๆ มา โดยผลวิจัยสรุปได้ว่า ในตำบลบ้านนามีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 30 ราย ตั้งแต่ปี 2560 - 2562 มีจำนวน 15 ราย ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุที่ทำให้ติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดสมองส่วนใหญ่จะเป็นโรคเรื้อรัง ปัจจัยโรคความดันเกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่และดื่มเหล้า การไม่ได้ออกกำลังกายเลย การพักผ่อนส่วนใหญ่จะนอนน้อยกว่า 5 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ไม่มีความรู้เรื่องหลอดเลือดสมอง อาการเตือนก่อนจะเป็นส่วนใหญ่จะมีอาการชา แขน ขา อ่อนแรง เมื่อมีอาการสัญญาณเตือนของโรคแล้วส่วนใหญ่กว่าจะถึงโรงพยาบาลใช้เวลามากกว่า 4 ชั่วโมง เหตุที่ไปโรงพยาบาลล่าช้าส่วนใหญ่เพราะไม่มีความรู้เลย รายได้เฉลี่ย/เดือน ของผู้ป่วยก่อนติดบ้านติดเตียง เป็นเงิน 6,860 บาท ปีละ 82,320 บาท ของผู้ดูแลก่อนทีจะต้องรับภาระดูแล เป็นเงิน 7,482 บาท ปีละ 89,784 บาท ค่าเฉลี่ยของผู้ป่วยกับผู้ดูแล/เดือน 14,342 บาท ปีละ 172,104 บาท รายได้เฉลี่ย/เดือน ของผู้ป่วยปัจจุบัน เป็นเงิน 1,044 บาท ปีละ 12,528 บาท รายได้เฉลี่ยน/เดือน ของผู้ดูแลปัจจุบัน 4,457 บาท ปีละ 53,484 บาท รายได้เฉลี่ยของผู้ป่วยกับผู้ดูแล/เดือน 4,501 บาท ปีละ 66,012 บาท เมื่อมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงทำให้ครอบครัวมีรายได้ลดลงเฉลี่ย 8,841 บาท/เดือน/ครอบครัว หรือเฉลี่ย 106,092 บาท/ปี/ครอบครัว จากข้อมูลข้างต้นเทศบาลตำบลบ้านนาและภาคีเครือข่ายประกอบด้วย โรงพยาบาลศรีนครินทร์ กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลบ้านนา สำนักธรรมนูญตำบลบ้านนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำใน กองทุนกีฬาเพื่อการท่องเที่ยวตำบลบ้านนา ชมรมอาสาฉุกเฉินชุมชนตำบลบ้านนา กองทุนเยียวยาผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสตำบลบ้านนา และศูนย์ผู้สูงอายุและคนพิการตำบลบ้านนา ได้มีมติการประชุมร่วมเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลบ้านนา การขับเคลื่อนโครงการนวัตกรรมกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2564 จัดทำกิจกรรมกระบวนการต่างๆ ให้ผู้ป่วยเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ทันกับโรคหลอดเลือดสมองที่ถูกต้อง ความรวดเร็วรับการรักษาเมื่อมีอาการสัญญาณเตือนของโรค ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน ความรวดเร็วในการส่งต่อรักษาของหน่วยกู้ชีพเมื่อได้รับแจ้งเหตุว่ามีผู้ป่วยที่บ่งชี้อาการสัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างตัวแทนประกันในการติดตามดูแลเฝ้าระวังผู้ถือกรมธรรม์ประกันฯ (ผู้เข้าร่วมโครงการ) อย่างสม่ำเสมอการให้สิทธิภายใต้เงื่อนไขการประกันเพื่อสร้างแรงจูงใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อันจะทำให้อัตรากลุ่มผู้ป่วยติดเตียงและอัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมองลดลง โดยที่เทศบาลตำบลบ้านนาได้รับมอบหมายให้ดำเนินงานที่เกี่ยวกับการประสาน อำนวยการจัดขอข้อมูลต่างๆ การสร้างตัวแทนประกัน (จิตอาสา) สำหรับติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเพื่อให้ตัวแทนประกันมีความรู้ มีทักษะในการติดตามสุขภาพการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ถือกรมธรรม์ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เทคนิคการติดตาม ความสามารถไปขยายผลต่อยังกลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดความรู้ คำแนะนำ กำกับ กำชับ ติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนและจัดทำทะเบียนประวัติโดยรวมผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้แก่ผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ) จึงได้จัดทำแผนงานการฝึกอบรมตัวแทนประกันสำหรับติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์และฝึกอบรมการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2564 นั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง มีความรู้ ความเข้าใจ รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง
  2. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยา และความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาสมัครในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  4. เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
  5. เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
  6. เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
  7. เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สมัครเข้าร่วมโครงการ)
  2. ติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 336
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 23
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการ) สามารถควบคุมโรคเรื้อรังให้อยู่ในเกณฑ์หรือคงที่หรือมีทิศทางที่ดีขึ้นกว่าเดิมได้ร้อยละ 50 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  2. ผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการติดบ้านติดเตียงจากโรคหลอดเลือดในสมองลดลงหรือไม่มีเลย
  3. ผู้ถือกรมธรรม์/ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองลดลงหรือไม่มีเลย
  4. ผู้ถือกรมธรรม์มีดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 10 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  5. ผู้ถือกรมธรรม์มีรอบเอวลดลง ร้อยละ 10 ของผู้ถือกรมธรรม์ทั้งหมด
  6. ตัวแทนประกัน (จิตอาสา) มีความรู้ มีทักษะ ในการติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการได้อย่างถูกต้อง
  7. มีจิตอาสาในการติดตามดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  8. สามารถบันทึกทะเบียนประวัติ/สมุดบันทึกสุขภาพ สำหรับผู้ถือกรมธรรม์ได้อย่างครบถ้วน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง มีความรู้ ความเข้าใจ รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
336.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยา และความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 40
336.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาสมัครในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
23.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
336.00

 

5 เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
ตัวชี้วัด : ลดลงร้อยละ 40
336.00

 

6 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
336.00

 

7 เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
336.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 359
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 336
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 23
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง มีความรู้ ความเข้าใจ รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยา และความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค (3) เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาสมัครในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ (4) เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ (5) เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้ (6) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (7) เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สมัครเข้าร่วมโครงการ) (2) ติดตามดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


แผนงานการติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325642002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปลอด ทองคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด