กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน
-ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย โดย นางวารินทร์ รอดขำ ร้อยละ 100 -ร้อยละเด็กปฐมวัยมีภาวะผอม (Work Load) เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดพัทลุง อำเภอควนขนุน ปี งบประมาณ2564 ได้รับการชั่งน้ำหนัก จำนวน 320 คน น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 2.81 จำนวนเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 23 คน ได้ดื่มนม จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีระดับน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 -3.จำนวนเด็กแรกเกิด-72 เดือนมีภาวการณ์เจ็บป่วยโรคที่เกิดจากการสารอาหารน้อยกว่าร้อยละ 0 -ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุทีกำหนดมีพัฒนาการสมวัย (สมวัยครั้งที่สอง) เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดพัทลุง อำเภอควนขนุน ปี งบประมาณ2564  ร้อยละ 100 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด  บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 18 มีนาคม 2564 4. สถานที่ดำเนินการ    ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ  32,921 บาท
    งบประมาณเบิกจ่ายจริง  32,921 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท  คิดเป็นร้อยละ
รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. กิจกรรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ จำนวน 48 แผ่น x 0.50 บาท  เป็นเงิน 24 บาท 2. กิจกรรมย่อย ติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ -ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มบันทึกการดื่มนม จำนวน 24 แผ่น x 0.50 บาทเป็นเงิน 12 บาท -ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหารก่อนและหลัง
จำนวน 35 ชุด x2 แผ่น x0.50 บาท เป็นเงิน 35 บาท 9.3 กิจกรรมย่อย การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล - ค่าอาหารเสริมนมกล่อง ยูเอช ที รสจืด สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการ เตี้ย ผอม
จำนวน 23 คนๆ ละ 90 กล่อง ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 20,700 บาท -เครื่องวัดความยาวเด็ก จำนวน 4 อัน x 2,500 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท รวมเป็นเงิน 32,921 บาท
6. ผลที่คาดว่าได้รับ 6.1 ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 72 เดือน สามารถเลี้ยงดูเด็กให้มีคุณภาพ 6.2 เด็กแรกเกิด – 72 เดือน มีพัฒนาการสมวัย และมีรูปร่างสมส่วน 6.3 เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการดีขึ้น 7. ปัญหา/อุปสรรค - ไม่มี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย
80.00 80.00

 

2 เพื่อให้เด็กแรกเกิด -72 เดือนได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-72 เดือน มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
90.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน  มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการประเมินพัฒนาการเด็กตามวัย (2) เพื่อให้เด็กแรกเกิด -72 เดือนได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล (2) กิจกรรม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและพัฒนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน เตี้ย ผอม (3) กิจกรรมติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงแปรผลภาวะโภชนาการและประเมินพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (4) การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการเลี้ยงบุตรเป็นรายบุคคล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh