กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการสมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง

ชื่อโครงการ โครงการสมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8409-01-05 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L8409-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วิวัฒนาการของโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก และวิถีชีวิตที่เร่งรีบและการพึ่งพาเทคโนโลยีทําให้ ประชาชนไม่มีเวลาเพียงพอ ทําให้คนเราต้องพยายามวิ่งไล่ตามให้ทัน จึงต้องใช้ชีวิตอย่างรวดเร็ว นอกจากต้องคิดให้เร็วแล้วยัง ต้องเคลื่อนไหวให้เร็ว สิ่งเหล่านี้มักก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย อาจทําให่โครงสร้างของร่างกายเสียสมดุล ขาดความเอาใจใส่ใน การดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจจนอาจก่อให้เกิดความเจ็บปวด หรือก่อให้เกิดอาการผิดปกติเรื้อรังบางอย่างได้  เมื่อเกิดการเจ็บป่วยจึงพึ่งพาการแพทย์ในการซ่อมเสริมสุขภาพประกอบกับเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพ จึงทําให้สูญเสียค่าใช้จ่ายสูงเกินความจําเป็นประกอบกับโรคภัยไข้เจ็บเริ่มมีความซับซ้อนและมีอัตราการตายที่เพิ่มสูงขึ้น การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมสอดคล้องกับวิถึชีวิตความเป็นอยู่เป็นการใช้วิธีการ ดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ มีการใช้ธรรมชาติบําบัด กายภาพบําบัด จิตบําบัดและการใช้ปรับสมดุล ร่างกาย เป็นการอธิบายภาวะต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งสภาวะปกติและสภาวะที่ผิดปกติ (สภาวะที่เสียสมดุล) โดยใช้ทฤษฎี ความสมดุลของร่างกายและจิตใจ ผสมผสานองค์ความรู้พื้นบ้าน องค์ความรู้ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ และองค์ความรู้ที่ พัฒนาขึ้นมาเอง กระบวนการทางการดูแลสุขภาพองค์รวม จะเกี่ยวกับการตรวจ การวินิจฉัย การส่งเสริม ป้องกันโรค และการฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์หรือสัตว์ รวมถึงการป้องกันการเสียสมดุล อันจะนําไปสู่ความเจ็บป่วย และความ ผิดปกติของร่างกาย โดยอาศัยความรู้หรือตําราที่ได้ถ่ายทอดและสืบต่อกันมา
มณีเวช เป็นการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกาย เรียกว่า การปรับสมดุลร่างกาย โดยเป็นวิทยาการที่ผสมผสานหลัก  วิชาการดูแลสุขภาพแผนไทย จีน  และอินเดีย  ธรรมชาติบําบัด และ อายุรวัฒน์มาพัฒนา ต่อยอดและนํามาใช้ในการฟื้นฟูสุขภาพ ประกอบด้วย ท่าบริหารง่ายๆ ที่ใช้เวลาไม่มากในการบริหาร และทําได้สะดวกทั้งที่บ้านและที่ทํางาน โดยท่าบริหารเหล่านั้นจะช่วยจัดสมดุล ให้กับโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย แต่หากร่างกายมีสภาวะที่เสียสมดุลมาก ก็จําเป็นที่ต้องใช้ทักษะขั้นสูงในการปรับสมดุลดังกล่าว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง เห็นความสำคัญของการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกายในการช่วยลดภาวะเจ็บป่วย เสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง จึงจัดทำโครงการ “สมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช” ขึ้นมาเพื่อตอบสนองปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน คนในชุมชนสามารถดูแลตนเองได้โดยมีสุขภาวะกายที่สมดุลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถจัดสมดุลของร่างกายได้ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของคนในชุมชนได้ 3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายลดภาวะความเจ็บป่วยจากการทำงานที่มากเกินไปได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการจัดสมดุลโครงร่างของร่างกายที่ดี
    2. ช่วยสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของคนในชุมชนโดยใช้ศาสตร์มณีเวช
    3. สามารถช่วยลดภาวะความเจ็บป่วยจากการทำงานที่มากเกินไปและเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถจัดสมดุลของร่างกายได้ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของคนในชุมชนได้ 3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายลดภาวะความเจ็บป่วยจากการทำงานที่มากเกินไปได้
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถจัดสมดุลของร่างกายได้ 80 % 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของคนในชุมชนได้ 80 % 3 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายลดภาวะความเจ็บป่วยจากการทำงานที่มากเกินไปได้ 70%
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถจัดสมดุลของร่างกายได้ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของคนในชุมชนได้ 3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายลดภาวะความเจ็บป่วยจากการทำงานที่มากเกินไปได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสมดุลชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 64-L8409-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด