โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 ”
ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดวงดาว พรหมเจียม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564
ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-02-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2484-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,068.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก และยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมาชุมชนตำบลบางขุนทอง มีจำนวนครัวเรือน ทั้งหมด 1,244 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด จำนวนทั้งสิ้น 5,642 คน แยกเป็นชาย 2,817 คนหญิง 2,825 คนในปี 2562 (วันที่ 31 เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ข้อมูลทะเบียนราษฎ์อำเภอตากใบ) พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 9 ราย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 173.71 ต่อแสนประชากร โรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาหนึ่งของตำบลบางขุนทอง และยังมีแนวโน้มผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น และจากการเดินทางที่สะดวกสบายและรวดเร็วการที่ประชาชนไปมาหาสู่กันอย่างต่อเนื่อง เพื่อการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพนั้นจำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกันป้องกันและควบคุมและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกสามารถป้องกันได้โดยการให้ประชาชนร่วมมือกันทำความสะอาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านและชุมชน โดยนำมาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออก 5 ป 1 ข มาใช้ ได้แก่1. ปิด ปิดภาชนะกักเก็บน้ำ2. เปลี่ยนเปลี่ยนถ่ายน้ำ ทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้ ถังเก็บน้ำสำหรับอาบ 3. ปล่อยปลาหางนกยูง หรือปลากินลูกน้ำในอ่างบัว หรือที่กักเก็บน้ำที่ไม่มีฝาปิด 4. ปรับปรุง สิ่งแวดล้อมไม่ให้มีน้ำขังในที่ต่างๆ 5. ปฏิบัติการดังกล่าวข้างต้นเป็นประจำทุกสัปดาห์ และในช่วงฤดูร้อนต่อช่วงฤดูฝนต้องเพิ่ม 1 ข คือ ขัดภาชนะที่เคยใช้กักเก็บน้ำก่อนมารองรับน้ำครั้งใหม่
ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขจึงได้ทำโครงการพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในตำบลบางขุนทอง ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกันป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในตำบลบางขุนทอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เฟพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย
- เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไขช้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนและประชาชน
- กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- กิจกรรมประกวด "หน้าบ้าน น่ามอง" ตำบลบางขุนทอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
- ชุมชนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
วันที่ 8 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลบางขุนทอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ในช่วงของการระบาดของโรคได้ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกราย
0
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนและประชาชน
วันที่ 23 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก และการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลาย
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ได้ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกราย ในช่วงของการระบาดของโรคจากการสอบสวนโรคพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่ติดเชื้อจากนอกพื้นที่เมื่อมีอาการไม่สบายจึงกลับมาพักรักษาตัวที่บ้านทำให้โรคแพร่กระจายออกไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เฟพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
0.00
100.00
อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2
เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
0.00
70.00
ร้อยละ 70 ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
3
เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไขช้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ชุมชนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
0.00
70.00
ร้อยละ 70 ชุมชนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
100
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เฟพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไขช้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนและประชาชน (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) กิจกรรมประกวด "หน้าบ้าน น่ามอง" ตำบลบางขุนทอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดวงดาว พรหมเจียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 ”
ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดวงดาว พรหมเจียม
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-02-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2484-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,068.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก และยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมาชุมชนตำบลบางขุนทอง มีจำนวนครัวเรือน ทั้งหมด 1,244 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด จำนวนทั้งสิ้น 5,642 คน แยกเป็นชาย 2,817 คนหญิง 2,825 คนในปี 2562 (วันที่ 31 เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ข้อมูลทะเบียนราษฎ์อำเภอตากใบ) พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 9 ราย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 173.71 ต่อแสนประชากร โรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาหนึ่งของตำบลบางขุนทอง และยังมีแนวโน้มผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น และจากการเดินทางที่สะดวกสบายและรวดเร็วการที่ประชาชนไปมาหาสู่กันอย่างต่อเนื่อง เพื่อการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพนั้นจำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกันป้องกันและควบคุมและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกสามารถป้องกันได้โดยการให้ประชาชนร่วมมือกันทำความสะอาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านและชุมชน โดยนำมาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออก 5 ป 1 ข มาใช้ ได้แก่1. ปิด ปิดภาชนะกักเก็บน้ำ2. เปลี่ยนเปลี่ยนถ่ายน้ำ ทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้ ถังเก็บน้ำสำหรับอาบ 3. ปล่อยปลาหางนกยูง หรือปลากินลูกน้ำในอ่างบัว หรือที่กักเก็บน้ำที่ไม่มีฝาปิด 4. ปรับปรุง สิ่งแวดล้อมไม่ให้มีน้ำขังในที่ต่างๆ 5. ปฏิบัติการดังกล่าวข้างต้นเป็นประจำทุกสัปดาห์ และในช่วงฤดูร้อนต่อช่วงฤดูฝนต้องเพิ่ม 1 ข คือ ขัดภาชนะที่เคยใช้กักเก็บน้ำก่อนมารองรับน้ำครั้งใหม่ ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขจึงได้ทำโครงการพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในตำบลบางขุนทอง ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกันป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในตำบลบางขุนทอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เฟพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย
- เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไขช้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนและประชาชน
- กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- กิจกรรมประกวด "หน้าบ้าน น่ามอง" ตำบลบางขุนทอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
- ชุมชนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลบางขุนทอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในช่วงของการระบาดของโรคได้ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกราย
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนและประชาชน |
||
วันที่ 23 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก และการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลาย
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ได้ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกทุกราย ในช่วงของการระบาดของโรคจากการสอบสวนโรคพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่ติดเชื้อจากนอกพื้นที่เมื่อมีอาการไม่สบายจึงกลับมาพักรักษาตัวที่บ้านทำให้โรคแพร่กระจายออกไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เฟพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร |
0.00 | 100.00 | อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร |
|
2 | เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ |
0.00 | 70.00 | ร้อยละ 70 ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ |
|
3 | เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไขช้เลือดออก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ชุมชนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก |
0.00 | 70.00 | ร้อยละ 70 ชุมชนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | 150 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เฟพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไขช้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนและประชาชน (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) กิจกรรมประกวด "หน้าบ้าน น่ามอง" ตำบลบางขุนทอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดวงดาว พรหมเจียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......