กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางณัฐรินีย์ จิตต์หลัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-3-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5300-3-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลเฝ้าระวังโรคของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พบว่าช่วง 5 ปี ตั้งแต่ปี 2557- 2561 พบว่ามีเหตุการณ์ที่เด็กถูกลืมทิ้งไว้ในรถ 106 เหตุการณ์ เด็กเสียชีวิตทั้งหมด 5 ราย เป็นเพศหญิงทั้งหมด 3 ราย เพศชาย 2 ราย อายุระหว่าง 3 – 6 ปี โดยเกิดเหตุในรถรับจ้างรับ-ส่งนักเรียน 4 ราย และรถยนต์ส่วนบุคคล 1 ราย ทั้งหมดถูกลืมทิ้งไว้ในรถนานกว่า 6 ชั่วโมง และศูนย์วิจัยสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี พบว่า เด็กส่วนใหญ่ที่ติดอยู่ในรถไม่ได้เสียชีวิตเพราะขาดอากาศหายใจ แต่เป็นเพราะความร้อนภายในรถสูง อุณหภูมิสูงขึ้นจนไม่สามารถทนอยู่ได้ เด็กจะเกิดภาวะเลือดเป็นกรด ช็อก หมดสติ สมองบวม หยุดหายใจ อวัยวะทุกอย่างหยุดทำงาน และเสียชีวิตในเวลาต่อมา และจากรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) เผยว่า มีเด็กไทยเพียง 7% เท่านั้น ที่ใส่หมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน ซึ่งผู้ปกครองหลายคนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานได้สวมใส่หมวกนิรภัยอย่างถูกวิธีและได้มาตรฐาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเกตุจากการใช้รถ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น โดยการจัดอบรมให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดและปลดล็อคประตูรถ เมื่อติดอยู่ในรถยนต์ รวมทั้งการจัดอบรมความปลอดภัยบนท้องถนนและสาธิตการใช้หมวกอย่างถูกวิธีและส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจในการใช้รถใช้ถนนตามกฎ วินัยจราจร เพื่อความปลอดภัยและลดการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็กและผู้ปกครองในเรื่องดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
  2. เพื่อลดจำนวนประชาชนที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 220
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองและครู 120

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุดเรียนรู้วิธีการปลดล็อคประตูรถเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ ร้อยละ 80 2. เด็กเรียนรู้การเอาตัวรอด โดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อต้องอยู่ในรถ ร้อยละ 100 3. เด็กและผู้ปกครองสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ ร้อยละ 100 4. ครู ผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ วินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถ ใช้ถนน ร้อยละ 80 ผลลัพธ์ เด็กเรียนรู้การเอาตัวรอด โดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อต้องอยู่ในรถ รู้วิธีการปลดล็อคประตูรถเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน อันจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาจราจร และช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนน และส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัย โดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ยังไม่คลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุดตระหนักถึงความสำคัญของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งการแพร่เชื้อดังกล่าวครอบคลุมในพื้นที่ตำบลคลองขุดด้วย ดังนั้น เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดและป้องกันความเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุดไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมดังกล่าวได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ลดลง
138.00 120.00

 

2 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ลดลง
3.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 220
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองและครู 120

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (2) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการใช้รถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-3-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางณัฐรินีย์ จิตต์หลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด