กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประพันธ์ สังข์ติ้น

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325643002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L336325643002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีภาวะความเสื่อมทั้งกายภายและสรีรวิทยา เป็นผลให้สุขภาพอนามัยไม่ดีภูมิต้านทานต่ำ เกิดความเจ็บป่วยง่ายและจากสถานกาณ์การเปลี่ยนแปลงด้านการเจริญพันธุ์และการตายของประชากร ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างอายุของประชากรไทย คือสัดส่วนในวัยเด็กลดลง วัยแรงงานยังคงเพิ่มขึ้นและผู้สูงอายุก็มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในอนาคตและปัญหาสำคัญที่ผู้สูงอายุไทยประสบคือ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสุขภาพ เกือนครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุรายได้ไม่พอเลี้ยงชีพและ 2 ใน 3 มี สุขภาพปานกลางถึงไม่ดี โรคที่พบมากในกลุ่มผู้สูงอายุ คือ ปวดหลัง ปวดเอว ไขข้ออักเสบ ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น     ตำบลบ้านนา มีจำนวนผู้สูงอายุ 1,439 คน จากจำนวนประชากรทั้งสิ้น 7,561 คน คิดเป็นร้อยละ 19.03 ของประชากรทั้งหมดในตำบลบ้านนา อัตราจำนวนผู้สูงอายุที่สูงขึ้นทุกๆ ปี ในประเทศไทยและในตำบลบ้านนา ทำให้สังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ดังนั้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในตำบลบ้านนา ซึ่งเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลในด้านต่างๆ ได้เข้าถึงการบริการด้านสุขภาพตามอำนาจหน้าที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรภาพ และการรักษาปฐมภูมิเชิงรุก ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา เพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุในตำบลบ้านนา ให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี อันจะนำไปสู่การมีอารมณ์ ความคิด จิต และร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง สามารถเป็นผู้นำและเป็นผู้ที่ทำประโยชน์ให้สังคมได้อีกมากมายหากผู้สูงอายุได้รับการดูแลให้มีสุขภาพจิตที่ดีและสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง จะเป็นทรัพยากรที่มีค่าของชาติเพราะเป็นผู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้แก่ลูกหลานและเยาวชนรุ่นหลังได้เป็นอย่างดียิ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตอันจะนำไปสู่การมีสุขภาพกาย อารมณ์ ความคิด สังคมที่ดี
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถดูแลตนเองได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง
  2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมที่ 3 สาธิตแนะนำการออกกำลังกายให้ผู้สูงอายุ เช่น ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โยคะ รำไม้พลอง เป็นต้น
  4. กิจกรรมที่ 4 นันทนาการ ร้องเพลง รำวงย้อนยุค การละเล่นพื้นบ้าน อื่นๆ
  5. อบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง และสาธิตการออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีรอยยิ้ม มีสุขภาพจิตที่ดีจะนำไปสู่การมีสุขภาพกาย อารมณ์ ความคิด สังคมที่ดี
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถดูแลตนเองได้
  3. ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันและกัน
  4. ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตอันจะนำไปสู่การมีสุขภาพกาย อารมณ์ ความคิด สังคมที่ดี
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
200.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 40
200.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 40
200.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตอันจะนำไปสู่การมีสุขภาพกาย อารมณ์ ความคิด สังคมที่ดี (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถดูแลตนเองได้ (3) เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง (2) กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมที่ 3 สาธิตแนะนำการออกกำลังกายให้ผู้สูงอายุ เช่น ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โยคะ รำไม้พลอง เป็นต้น (4) กิจกรรมที่ 4 นันทนาการ ร้องเพลง รำวงย้อนยุค การละเล่นพื้นบ้าน อื่นๆ (5) อบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง และสาธิตการออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325643002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประพันธ์ สังข์ติ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด