โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ”
จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฟาดีลา เซ็งมาดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม
ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4163-2-03 เลขที่ข้อตกลง 001/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4163-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชน เป็นแกนนำสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ เป็นกลุ่มบุคคลที่ต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดู ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้สมบูรณ์แข็งแรง ต้องได้รับการศึกษาที่สามารถเป็นความรู้เลี้ยงชีพได้ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมคุณงามความดี ปลูกฝังการดำเนินชีวิตที่ดี เพื่อจะได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและเป็นคนดีในสังคมและประเทศชาติต่อไป
ปัจจุบันเด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือไม่มีคุณค่าทางสารอาหาร และใส่ใจเรื่องการเลือกรับประทานอาหารน้อยลง เช่น ไม่ชอบกินผักผลไม้ กินแต่ขนม น้ำอัดลม น้ำหวาน เป็นต้น กินแบบเร่งเวลา ่ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆตามมา และการที่เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ขาดการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาตามสมควร โดยมักใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ เช่น การเล่นเกมส์ การเล่นโทรศัพท์มือถือ การมั่วสุมเสพของมึนเมา มากกว่า จีงเป็นผลให้ร่างกายอ่อนแอ เกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย และนอกจากจะส่งผลต่อร่างกายแล้ว ยังส่งผลต่อจิตใจและอารมณ์อีกด้วย ทำให้อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว หงุดหงิดง่าย ขาดการใช้เหตุผล ฯลฯ หรืออาจกลายเป็นปัญหาสังคมตามมา เด็กและเยาวชนต้องรู้จักเลือกทำกิจกรรมอื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือส่วนรวม ซึ่งหมายรวมถึงการมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังและสร้างวินัยให้เด็กและเยาวชนในการรักษาความสะอาดและการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะปัญหาที่มีอยู่ในชุมชนและมีผลกระทบต่อสุขภาพ คือ ปัญหาด้านขยะมูลฝอย ขยะบางส่วนถูกทิ้งกระจัดกระจายตามริมถนน สถานที่สาธารณะ ส่งกลิ่นเหม็นเน่า เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคต่างๆ และมีสารพิษปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม เด็กและเยาวชนต้องมีโอกาสในการรวมตัวกันทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ในด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ได้รับการฝึกฝนหล่อหลอมให้เกิดความรู้ความเข้าใจและตระหนักต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น นำมาซึ่งวิถีการดำรงชีวิตที่ใส่ใจและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
ดังนั้น สภาเด็กและเยาวชนตำบลบือมัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นแกนนำสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ เด็กและเยาวชนต้องมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพจิตใจที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจิตสำนึกที่ดีในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนในเรื่องการรักษาความสะอาดและสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้ถูกที่
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- จิตอาสารักษ์สิ่งแวดล้อม (การลงพื้นที่ทำความสะอาดสถานที่ต่างๆ เช่น การเก็บขยะริมทางถนนในชุมชน สถานที่สาธารณะฯ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน หันมาออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพมากขึ้น ร้อยละ 80
0.00
3
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนในเรื่องการรักษาความสะอาดและสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้ถูกที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน มีจิตสำนึกที่ดีในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80
0.00
4
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ 80
0.00
5
เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของขยะมูลฝอยในชุมชนลดน้อยลง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา (3) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนในเรื่องการรักษาความสะอาดและสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้ถูกที่ (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (5) เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) จิตอาสารักษ์สิ่งแวดล้อม (การลงพื้นที่ทำความสะอาดสถานที่ต่างๆ เช่น การเก็บขยะริมทางถนนในชุมชน สถานที่สาธารณะฯ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4163-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.ฟาดีลา เซ็งมาดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ”
จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฟาดีลา เซ็งมาดี
กันยายน 2564
ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4163-2-03 เลขที่ข้อตกลง 001/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4163-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชน เป็นแกนนำสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ เป็นกลุ่มบุคคลที่ต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดู ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้สมบูรณ์แข็งแรง ต้องได้รับการศึกษาที่สามารถเป็นความรู้เลี้ยงชีพได้ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมคุณงามความดี ปลูกฝังการดำเนินชีวิตที่ดี เพื่อจะได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและเป็นคนดีในสังคมและประเทศชาติต่อไป
ปัจจุบันเด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือไม่มีคุณค่าทางสารอาหาร และใส่ใจเรื่องการเลือกรับประทานอาหารน้อยลง เช่น ไม่ชอบกินผักผลไม้ กินแต่ขนม น้ำอัดลม น้ำหวาน เป็นต้น กินแบบเร่งเวลา ่ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆตามมา และการที่เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ขาดการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาตามสมควร โดยมักใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ เช่น การเล่นเกมส์ การเล่นโทรศัพท์มือถือ การมั่วสุมเสพของมึนเมา มากกว่า จีงเป็นผลให้ร่างกายอ่อนแอ เกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย และนอกจากจะส่งผลต่อร่างกายแล้ว ยังส่งผลต่อจิตใจและอารมณ์อีกด้วย ทำให้อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว หงุดหงิดง่าย ขาดการใช้เหตุผล ฯลฯ หรืออาจกลายเป็นปัญหาสังคมตามมา เด็กและเยาวชนต้องรู้จักเลือกทำกิจกรรมอื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือส่วนรวม ซึ่งหมายรวมถึงการมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังและสร้างวินัยให้เด็กและเยาวชนในการรักษาความสะอาดและการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะปัญหาที่มีอยู่ในชุมชนและมีผลกระทบต่อสุขภาพ คือ ปัญหาด้านขยะมูลฝอย ขยะบางส่วนถูกทิ้งกระจัดกระจายตามริมถนน สถานที่สาธารณะ ส่งกลิ่นเหม็นเน่า เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคต่างๆ และมีสารพิษปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม เด็กและเยาวชนต้องมีโอกาสในการรวมตัวกันทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ในด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ได้รับการฝึกฝนหล่อหลอมให้เกิดความรู้ความเข้าใจและตระหนักต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น นำมาซึ่งวิถีการดำรงชีวิตที่ใส่ใจและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
ดังนั้น สภาเด็กและเยาวชนตำบลบือมัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นแกนนำสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ เด็กและเยาวชนต้องมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพจิตใจที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจิตสำนึกที่ดีในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนในเรื่องการรักษาความสะอาดและสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้ถูกที่
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- จิตอาสารักษ์สิ่งแวดล้อม (การลงพื้นที่ทำความสะอาดสถานที่ต่างๆ เช่น การเก็บขยะริมทางถนนในชุมชน สถานที่สาธารณะฯ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน หันมาออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพมากขึ้น ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนในเรื่องการรักษาความสะอาดและสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้ถูกที่ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน มีจิตสำนึกที่ดีในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตัวชี้วัด : ร้อยละของขยะมูลฝอยในชุมชนลดน้อยลง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา (3) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนในเรื่องการรักษาความสะอาดและสร้างวินัยในการทิ้งขยะให้ถูกที่ (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีสุุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (5) เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) จิตอาสารักษ์สิ่งแวดล้อม (การลงพื้นที่ทำความสะอาดสถานที่ต่างๆ เช่น การเก็บขยะริมทางถนนในชุมชน สถานที่สาธารณะฯ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กและเยาวชนคนบือมัง รักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 64-L4163-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.ฟาดีลา เซ็งมาดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......