โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ ”
ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี เอียดปุ่ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-03-18 เลขที่ข้อตกลง 18/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2484-03-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเปลี่ยนแปลงตามภาวะกระแสโลกทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและการเมืองเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อสุขภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทำให้พฤติกรรมการดำเนินชีวิตเปลี่ยนไป เช่น พฤติกรรมการบริโภค มักนิยมบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง โปรตีนสูง กากใยน้อย ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูงส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้เป็นภัยเงียบที่รักษาไม่หาย และยังทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว มักเกิดจาก“กรรมพันธุ์และพฤติกรรม” เพื่อการควบคุมโรค ที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเช่นคนปกติโดยปราศจากโรคแทรกซ้อน ดังนั้น ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคและส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ที่ดีขึ้นจึงได้จัดทำโครงการ“ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.”เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ทักษะในการจัดการตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพภายในช่องปาก
- 2. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีการจัดการตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ที่ถูกต้อง
- 3.เพื่อส่งเสริมอาชีพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้
- อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุในการทำดอกไม้จันทร์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุ มีการจัดการสุขภาพ มีทักษะ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยการเสริมสร้างสุขภาพ และป้องกันโรคที่เหมาะสม และมีสุขภาพดี อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
2.ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการส่งเสริมอาชีพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก
วันที่ 17 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
0
0
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้
วันที่ 7 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้แกผู้สูงอายุเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้านและการใช้วัสดุเหลือใช้ในการปลูกผัก ทำให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และขยับร่างกายได้มากขึ้น
0
0
3. อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุในการทำดอกไม้จันทร์
วันที่ 20 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุโดยการทำดอกไม้จันทร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำดอกไม้จันทร์ สามารถนำไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวต่อไป ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากผลการดำเนินโครงการ พบว่า ผู้สูงอายุผ่านการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ได้ถูกต้อง ร้อยละ 72 ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 90.25 มีความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน และการทำดอกไม้จันทร์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพภายในช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุดูแลสุขภาพภายในช่องปากได้
0.00
100.00
ผู้สูงอายุผ่านการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100
2
2. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีการจัดการตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
0.00
72.00
ผู้สูงอายุมีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ได้ถูกต้อง ร้อยละ 72
3
3.เพื่อส่งเสริมอาชีพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุสามารถใช้เวลาว่างในการปลูกผักกินเองและทำดอกไม้จันทร์เพื่อส่งเสริมรายได้
0.00
90.25
ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 90.25 มีความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน และการทำดอกไม้จันทร์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพภายในช่องปาก (2) 2. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีการจัดการตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ที่ถูกต้อง (3) 3.เพื่อส่งเสริมอาชีพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้ (3) อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุในการทำดอกไม้จันทร์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-03-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเพ็ญศรี เอียดปุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ ”
ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี เอียดปุ่ม
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-03-18 เลขที่ข้อตกลง 18/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2484-03-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเปลี่ยนแปลงตามภาวะกระแสโลกทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและการเมืองเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อสุขภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทำให้พฤติกรรมการดำเนินชีวิตเปลี่ยนไป เช่น พฤติกรรมการบริโภค มักนิยมบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง โปรตีนสูง กากใยน้อย ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดสูงส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้เป็นภัยเงียบที่รักษาไม่หาย และยังทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว มักเกิดจาก“กรรมพันธุ์และพฤติกรรม” เพื่อการควบคุมโรค ที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเช่นคนปกติโดยปราศจากโรคแทรกซ้อน ดังนั้น ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคและส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ที่ดีขึ้นจึงได้จัดทำโครงการ“ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.”เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ทักษะในการจัดการตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพภายในช่องปาก
- 2. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีการจัดการตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ที่ถูกต้อง
- 3.เพื่อส่งเสริมอาชีพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้
- อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุในการทำดอกไม้จันทร์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุ มีการจัดการสุขภาพ มีทักษะ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยการเสริมสร้างสุขภาพ และป้องกันโรคที่เหมาะสม และมีสุขภาพดี อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง 2.ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการส่งเสริมอาชีพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
|
0 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้ |
||
วันที่ 7 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้แกผู้สูงอายุเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้านและการใช้วัสดุเหลือใช้ในการปลูกผัก ทำให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และขยับร่างกายได้มากขึ้น
|
0 | 0 |
3. อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุในการทำดอกไม้จันทร์ |
||
วันที่ 20 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุโดยการทำดอกไม้จันทร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการทำดอกไม้จันทร์ สามารถนำไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวต่อไป ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากผลการดำเนินโครงการ พบว่า ผู้สูงอายุผ่านการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ได้ถูกต้อง ร้อยละ 72 ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 90.25 มีความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน และการทำดอกไม้จันทร์
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพภายในช่องปาก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุดูแลสุขภาพภายในช่องปากได้ |
0.00 | 100.00 | ผู้สูงอายุผ่านการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100 |
|
2 | 2. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีการจัดการตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น |
0.00 | 72.00 | ผู้สูงอายุมีการจัดการตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรมมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ได้ถูกต้อง ร้อยละ 72 |
|
3 | 3.เพื่อส่งเสริมอาชีพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุสามารถใช้เวลาว่างในการปลูกผักกินเองและทำดอกไม้จันทร์เพื่อส่งเสริมรายได้ |
0.00 | 90.25 | ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 90.25 มีความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน และการทำดอกไม้จันทร์ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพภายในช่องปาก (2) 2. เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุมีการจัดการตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ที่ถูกต้อง (3) 3.เพื่อส่งเสริมอาชีพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ 2ส ตรวจคัดกรองความดันโลหิตและตรวจสุขภาพช่องปาก (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการปลูกผักในวัสดุเหลือใช้ (3) อบรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุในการทำดอกไม้จันทร์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก3อ.2ส.เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมอาชีพในผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2484-03-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเพ็ญศรี เอียดปุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......