ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายฮาวารี หมัดอะหิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
พฤษภาคม 2564
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-02-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 พฤษภาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่ง เพื่อเป็นการป้องกันน้ำปัสสาวะค้างซึ่งเป็นสิ่งสกปรก มีกลิ่น ยากแก่การทำความสะอาด การส่งเสริมการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย (การขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย) ในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่าการขลิบเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก แพทย์บางท่านเห็นว่าสมัยนี้ในสุขวิทยาเจริญมากกว่าแต่ก่อนสมควรให้มีกรขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย และแนะนำให้เด็กที่เกิดมาทุกคน อายุ5-15ปีได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย เพื่อเป็นการการส่งเสริมการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย โดยให้เหตุผลว่า "ในรายที่เด็กมีหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธ์แคบและตึงมากไม่สามารถจะดึงให้หุ้มได้หมดในรายที่มีหนังหุ้มยาวมากเกินควร จนขังน้ำปัสสาวะจึงอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคขึ้นได้ ถ้าชำระความสะอาดทำได้ไม่สะดวกในรายที่หนังหุ้มแคบมาก "ไพโมซิส" ซึ่งทำให้เจ็บปวดเมื่อแข็งตัวและปัสสาวะลำบากแก้ไขได้ด้วยการขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย"
การขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชายโดยส่วนใหญ่มักจะทำในช่วงวัยเด็ก ทั้งนี้เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพของเด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อีกทั้งเป็นการรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแล ป้องกันโรคโดยเพาะโรคติดชื้อและภาวะเลือดออกมาก(bleeding) จึงเล็งความสำคัญของกิจกรรมดังกล่าวมัสยิดนุรุดดีน(หน้าควน)จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมากจากการทำสุนัต
- เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (ค่าป้ายไวนิล/ค่าเอกสาร/ค่าจัดทำรูปเล่ม)
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ค่าอาหาร/ค่าอาหารกลางวัน/ค่าวิทยากร)
- กิจกรรมหัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) (ค่าหัตถการ/ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ่าตัดเล็ก)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding)ภาวะแทรกซ้อนและการติดเชื้อ
2.สร้างความตะหนักแก่ผู้ปกครองในการป้องกันโรคติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (ค่าป้ายไวนิล/ค่าเอกสาร/ค่าจัดทำรูปเล่ม)
วันที่ 1 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายไวนิล เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ รายละเอียดดังนี้
1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x3 ม.
จำนวน 2 ผืน x 450 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท)
เป็นเงิน 900 บาท
2. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x2 ม.
จำนวน 8 ผืน x 300 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท)
เป็นเงิน 2,400 บาท
รวมเป็นเงิน 3,300 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำป้ายไวนิล เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ รายละเอียดดังนี้
1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x3 ม.
จำนวน 2 ผืน x 450 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท)
เป็นเงิน 900 บาท
2. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x2 ม.
จำนวน 8 ผืน x 300 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท)
เป็นเงิน 2,400 บาท
รวมเป็นเงิน 3,300 บาท
0
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ค่าอาหาร/ค่าอาหารกลางวัน/ค่าวิทยากร)
วันที่ 1 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนรวมถึงผู้ปกครองเพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค แก่กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน และผู้ปกครอง จำนวน 100 คน โดยมีการจัดเตรียม ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จำนวน 200 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้ดำเนินงาน ,วิทยากร จำนวน 20 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท
3. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 200 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 12,000 บาท
4. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม สำหรับผู้ดำเนินงานวิทยากร จำนวน 20 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,200 บาท
5. ค่าวิทยากร 3 ชม.ๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
รวมเป็นเงิน 27,800 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนรวมถึงผู้ปกครองเพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค แก่กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน และผู้ปกครอง จำนวน 100 คน โดยมีการจัดเตรียม ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จำนวน 200 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้ดำเนินงาน ,วิทยากร จำนวน 20 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท
3. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 200 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 12,000 บาท
4. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม สำหรับผู้ดำเนินงานวิทยากร จำนวน 20 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,200 บาท
5. ค่าวิทยากร 3 ชม.ๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
รวมเป็นเงิน 27,800 บาท
200
0
3. กิจกรรมหัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) (ค่าหัตถการ/ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ่าตัดเล็ก)
วันที่ 11 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) หัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) กลุ่มเป้าหมายแก่เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน
โดยมีการประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและรับสมัครเด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลเข้าร่วมโครงการ และจัดตารางเวลา กำหนดการเพื่ออกบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เด็กและเยาวชน
และมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการทำหัตถการ ดังนี้
1. ค่าหัตถการ 400 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 40,000 บาท
2 .ค่ายาชา 100 บาท/คน x 100คน
เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าถุงมือ sterile 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
4. ค่าเข็ม, Syring 10 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 1,000 บาท
5. ค่าไหม 150 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 15,000 บาท
6. ค่าSet sterile 25 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,500 บาท
7. ค่า Butadiene 30 cc 25 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,500 บาท
8. ค่า Elasitix 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
9. ค่า Bactigras 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
10. ค่า Gauze 2 ซอง 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
11. ค่าใบมีด 10 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 80,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดกิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) หัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) กลุ่มเป้าหมายแก่เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน
โดยมีการประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและรับสมัครเด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลเข้าร่วมโครงการ และจัดตารางเวลา กำหนดการเพื่ออกบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เด็กและเยาวชน
และมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการทำหัตถการ ดังนี้
1. ค่าหัตถการ 400 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 40,000 บาท
2 .ค่ายาชา 100 บาท/คน x 100คน
เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าถุงมือ sterile 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
4. ค่าเข็ม, Syring 10 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 1,000 บาท
5. ค่าไหม 150 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 15,000 บาท
6. ค่าSet sterile 25 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,500 บาท
7. ค่า Butadiene 30 cc 25 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,500 บาท
8. ค่า Elasitix 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
9. ค่า Bactigras 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
10. ค่า Gauze 2 ซอง 20 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 2,000 บาท
11. ค่าใบมีด 10 บาท/คน x 100 คน
เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 80,000 บาท
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมากจากการทำสุนัต
ตัวชี้วัด : สามารถลดภาวะเสี่ยงของการรออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน และการติดเชื้อ
0.00
2
เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : สร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ
0.00
3
เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : เด็กและเยวาชนได้รับการบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมากจากการทำสุนัต (2) เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (ค่าป้ายไวนิล/ค่าเอกสาร/ค่าจัดทำรูปเล่ม) (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ค่าอาหาร/ค่าอาหารกลางวัน/ค่าวิทยากร) (3) กิจกรรมหัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) (ค่าหัตถการ/ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ่าตัดเล็ก)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-02-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฮาวารี หมัดอะหิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายฮาวารี หมัดอะหิน
พฤษภาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-02-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 พฤษภาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่ง เพื่อเป็นการป้องกันน้ำปัสสาวะค้างซึ่งเป็นสิ่งสกปรก มีกลิ่น ยากแก่การทำความสะอาด การส่งเสริมการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย (การขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย) ในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่าการขลิบเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก แพทย์บางท่านเห็นว่าสมัยนี้ในสุขวิทยาเจริญมากกว่าแต่ก่อนสมควรให้มีกรขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย และแนะนำให้เด็กที่เกิดมาทุกคน อายุ5-15ปีได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย เพื่อเป็นการการส่งเสริมการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย โดยให้เหตุผลว่า "ในรายที่เด็กมีหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธ์แคบและตึงมากไม่สามารถจะดึงให้หุ้มได้หมดในรายที่มีหนังหุ้มยาวมากเกินควร จนขังน้ำปัสสาวะจึงอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคขึ้นได้ ถ้าชำระความสะอาดทำได้ไม่สะดวกในรายที่หนังหุ้มแคบมาก "ไพโมซิส" ซึ่งทำให้เจ็บปวดเมื่อแข็งตัวและปัสสาวะลำบากแก้ไขได้ด้วยการขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชาย" การขลิบหนังหุ้มปลายในอวัยวะเพศชายโดยส่วนใหญ่มักจะทำในช่วงวัยเด็ก ทั้งนี้เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพของเด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อีกทั้งเป็นการรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแล ป้องกันโรคโดยเพาะโรคติดชื้อและภาวะเลือดออกมาก(bleeding) จึงเล็งความสำคัญของกิจกรรมดังกล่าวมัสยิดนุรุดดีน(หน้าควน)จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมากจากการทำสุนัต
- เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (ค่าป้ายไวนิล/ค่าเอกสาร/ค่าจัดทำรูปเล่ม)
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ค่าอาหาร/ค่าอาหารกลางวัน/ค่าวิทยากร)
- กิจกรรมหัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) (ค่าหัตถการ/ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ่าตัดเล็ก)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding)ภาวะแทรกซ้อนและการติดเชื้อ 2.สร้างความตะหนักแก่ผู้ปกครองในการป้องกันโรคติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (ค่าป้ายไวนิล/ค่าเอกสาร/ค่าจัดทำรูปเล่ม) |
||
วันที่ 1 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายไวนิล เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x3 ม. จำนวน 2 ผืน x 450 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท) เป็นเงิน 900 บาท 2. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x2 ม. จำนวน 8 ผืน x 300 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท) เป็นเงิน 2,400 บาท รวมเป็นเงิน 3,300 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำป้ายไวนิล เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x3 ม. จำนวน 2 ผืน x 450 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท) เป็นเงิน 900 บาท 2. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x2 ม. จำนวน 8 ผืน x 300 บาท (ตร.ม. ละ 150 บาท) เป็นเงิน 2,400 บาท รวมเป็นเงิน 3,300 บาท
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ค่าอาหาร/ค่าอาหารกลางวัน/ค่าวิทยากร) |
||
วันที่ 1 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนรวมถึงผู้ปกครองเพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค แก่กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน และผู้ปกครอง จำนวน 100 คน โดยมีการจัดเตรียม ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนรวมถึงผู้ปกครองเพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค แก่กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน และผู้ปกครอง จำนวน 100 คน โดยมีการจัดเตรียม ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
|
200 | 0 |
3. กิจกรรมหัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) (ค่าหัตถการ/ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ่าตัดเล็ก) |
||
วันที่ 11 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) หัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) กลุ่มเป้าหมายแก่เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน
โดยมีการประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและรับสมัครเด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลเข้าร่วมโครงการ และจัดตารางเวลา กำหนดการเพื่ออกบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เด็กและเยาวชน
และมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการทำหัตถการ ดังนี้
1. ค่าหัตถการ 400 บาท/คน x 100 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดกิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) หัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) กลุ่มเป้าหมายแก่เด็กและเยาวชน จำนวน 100 คน
โดยมีการประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและรับสมัครเด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลเข้าร่วมโครงการ และจัดตารางเวลา กำหนดการเพื่ออกบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เด็กและเยาวชน
และมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการทำหัตถการ ดังนี้
1. ค่าหัตถการ 400 บาท/คน x 100 คน
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมากจากการทำสุนัต ตัวชี้วัด : สามารถลดภาวะเสี่ยงของการรออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน และการติดเชื้อ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ ตัวชี้วัด : สร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : เด็กและเยวาชนได้รับการบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมากจากการทำสุนัต (2) เพื่อรณรงค์ และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (ค่าป้ายไวนิล/ค่าเอกสาร/ค่าจัดทำรูปเล่ม) (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ค่าอาหาร/ค่าอาหารกลางวัน/ค่าวิทยากร) (3) กิจกรรมหัตถการ (ผ่าตัดเล็ก) (ค่าหัตถการ/ค่าวัสดุอุปกรณ์ผ่าตัดเล็ก)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อในอวัยวะเพศชาย ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-02-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฮาวารี หมัดอะหิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......