กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศรัณยา ปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรคเปิดคลังข้อมูลสุขภาพสาธารณสุข ปี 2563 ตั้งแต่ 1 ม.ค.- 30 ก.ย.63 พบเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีจมน้ำถึง 692 ราย และข้อมูลจากมรณบัตรในปี 2562 มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำสูงถึง 3,306 ราย เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 559 ราย ส่วนข้อมูลจากคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าในปี 2563 นี้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม–30 กันยายน 2563 มีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีประสบเหตุจมน้ำมากถึง 692 ราย (การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี) สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการพลัดตกน้ำ ว่ายน้ำไม่เป็น ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดและการช่วยเหลือที่ถูกต้อง ขาดการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง จังหวัดยะลาจัดอยู่ในพื้นที่เสี่ยงปานกลาง จำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในปี 2562 จำนวน 4 คน คิดเป็น 3.42 อัตราต่อแสนประชากร (แหล่งข้อมูล :HDC สาธารณสุขจังหวัดยะลา)และจากข้อมูลเฝ้าระวังพบว่าเด็กมักจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันหลายๆคน เนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้องจึงมักกระโดดลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ แหล่งน้ำที่มีเด็กเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำสูงที่สุด คือ แหล่งน้ำธรรมชาติ ซึ่งตำบลสะเตงนอกมีพื้นที่ติดแม่น้ำสายใหญ่ คือแม่น้ำปัตตานี และมีลำธาร คลอง บึง ฯลฯ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิต จากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง เครือข่ายตำบลสะเตงนอกขึ้น เพื่อให้ชุมชนมีบทบาทและส่วนร่วม ที่สำคัญในการผลักดันป้องกันการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในการปฏิบัติตน ในการป้องกันการจมน้ำและอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำนักเรียน เจ้าหน้าที่ มีความรู้และทักษะการฟื้นคืนชีพในการช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำ
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่การป้องกันการเสียชีวิต จากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพและป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำ จำนวน 2 รุ่น
  2. ติดตั้งสื่อเตือนภัยบริเวณใกล้แหล่งน้ำเสี่ยง และอุปกรณ์ช่วยเหลือเบื้องต้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการฟื้นคืนชีพ ช่วยป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำ 2.เจ้าหน้าที่มีศักยภาพในการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพและป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำ จำนวน 2 รุ่น

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.เสนอโครงการเพื่อขอรับความเห็นชอบและอนุมติโครงการต่อคณะกรรมการ 2.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 3.สำรวจค้นหาข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมประจำ,ติดแม่น้ำปัตตานีคลอง,บึง 4.การจัดเตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือและป้ายเตือภัยในพื้นี่เสี่ยง 5.อบรมแกนนำนักเรียน/นักศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,เจ้าหน้าที่เทศบาล,เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย,แกนนำหมู่บ้าน 6.ติดตาม ประเมินและสรุปผล 7.รายงานผลการดำเนินงานให้กับทางกองทุนฯทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการฟื้นคืนชีพ ช่วยป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำ 2.เจ้าหน้าที่มีศักยภาพในการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง

 

0 0

2. ติดตั้งสื่อเตือนภัยบริเวณใกล้แหล่งน้ำเสี่ยง และอุปกรณ์ช่วยเหลือเบื้องต้น

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.เสนอโครงการเพื่อขอรับความเห็นชอบและอนุมติโครงการต่อคณะกรรมการ 2.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 3.สำรวจค้นหาข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมประจำ,ติดแม่น้ำปัตตานีคลอง,บึง 4.การจัดเตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือและป้ายเตือภัยในพื้นี่เสี่ยง 5.อบรมแกนนำนักเรียน/นักศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข,เจ้าหน้าที่เทศบาล,เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย,แกนนำหมู่บ้าน 6.ติดตาม ประเมินและสรุปผล 7.รายงานผลการดำเนินงานให้กับทางกองทุนฯทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เจ้าหน้าที่มีศักยภาพในการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้แกนนำนักเรียน เจ้าหน้าที่ มีความรู้และทักษะการฟื้นคืนชีพในการช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำ  ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1.เสนอโครงการเพื่อขอรับความเห็นชอบ และอนุมัติโครงการต่อคณะกรรมการ
2.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 3.สำรวจค้นหาข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมประจำ, ติดแม่น้ำปัตตานีคลอง, บึง 5.การจัดเตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือและป้ายเตือนภัยในพื้นที่เสี่ยง 6.อบรมแกนนำนักเรียน/นักศึกษา,ครูเจ้าหน้าที่ และแกนนำชุมชน ในเรื่องทักษะ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การป้องกันตนเองจากการจมน้ำ และทักษะการฟื้นคืนชีพ 7.ติดตาม ประเมิน และ สรุปผล 8.รายงานผลการดำเนินงานให้กับทางกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสะเตงนอกทราบ จากการดำเนินงานกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการป้องกันตนเองจากการจมน้ำ และทักษะการฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกต้อง โดยประเมินจากการทดสอบภาคปฏิบัติของผู้เข้าร่วมทุกคน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำนักเรียน เจ้าหน้าที่ มีความรู้และทักษะการฟื้นคืนชีพในการช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80
0.00 0.00

มีผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 95

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่การป้องกันการเสียชีวิต จากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ผ่านทักษะการฟื้นคืนชีพในการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำ
0.00

ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 90 ผ่านทักษะการฟื้นคืนชีพในการป้องกันการเสียชีวิจากการจมน้ำ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 25 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำนักเรียน เจ้าหน้าที่ มีความรู้และทักษะการฟื้นคืนชีพในการช่วยเหลือตนเองจากการจมน้ำ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่การป้องกันการเสียชีวิต จากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพและป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำ จำนวน 2 รุ่น (2) ติดตั้งสื่อเตือนภัยบริเวณใกล้แหล่งน้ำเสี่ยง และอุปกรณ์ช่วยเหลือเบื้องต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศรัณยา ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด