กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ Big Cleanning day ป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ รพ.สต.ลำชิง ตำบลคลองทราย ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 002/2564
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2564
งบประมาณ 37,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเจือ ดำแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.พ. 2564 31 ส.ค. 2564 37,000.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 37,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลคลองทรายเป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกเป็นลำดับต้นๆ ของอำเภอนาทวี ซึ่งในปี 2562 ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม- 31 ธันวาคม2562 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ รพ.สต. ลำชิง จำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 212.31 ต่อแสนประชากรและในปีงบประมาณ2563 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 20 ธันวาคม2563 พบผู้ป่วยจำนวน 3 รายคิดเป็นอัตราป่วย 99.56 ต่อแสนประชากร ยังมีผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกทุกปี ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2564

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ของสัตว์นำโรคที่มาจากขยะและภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน (HI,CI) ไม่เกินร้อยละ 10 ในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย

200.00 180.00
2 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

3.00 3.00
3 เพื่อส่งเสริมกระตุ้นให้ประชากรตระหนักและมีความรู้ในการทำลายแหล่งพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย

200.00 180.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 - 28 ก.พ. 64 ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขหรือตัวแทน ที่ทำหน้าที่เป็นแกนนำควบคุมโรคไข้เลือดออก 0 0.00 -
1 ก.พ. 64 - 30 พ.ย. 64 ติดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก 0 2,500.00 -
1 มี.ค. 64 - 31 ก.ค. 64 ดำเนินการรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุกหลังคาเรือนโดยประชาชน อสม. ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่สาธาณสุขในพื้นที่ 0 31,000.00 -
1 มี.ค. 64 - 31 ก.ค. 64 ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์โดยรถ ประชาสัมพันธ์ สื่อไวนิล และเสียงตามสายในหมู่บ้าน 0 3,500.00 -
รวม 0 37,000.00 0 0.00

กิจกรรมที่ 1 ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขหรือตัวแทน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ทำหน้าที่เป็นแกนนำควบคุมโรคไข้เลือดออกพร้อมชี้แจง กิจกรรมที่ 2 ดำเนินการรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุกหลังคาเรือนโดยประชาชน อสม. ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่สาุธารณสุขในพื้นที่ กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์โดยใช้รถประชาสัมพันธ์ สื่อไวนิล และเสียงตามสายในหมู่บ้าน กิจกรรมที่ 4 ติดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน (HI,CI) ไม่เกินร้อยละ 10 ในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=0)
  2. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
  3. ประชาชนให้ความร่วมมือให้การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2564 00:00 น.