กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโกตาบารู
รหัสโครงการ 64-L7163-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 21 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 78,880.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.452,101.345place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2563 30 ก.ย. 2564 78,880.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 78,880.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 36 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลโกตาบารูมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้ดำเนินงานหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวและมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยดำเนินกิจกรรม        4 ประเภทคือ กิจกรรมการบริการตามชุดสิทธิประโยชน์กิจกรรมสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานบริการสาธารณสุข กิจกรรมสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นและกิจกรรมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการโดยดำเนินกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม คือ กลุ่มแม่และเด็ก        กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การประชุมอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ เป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพราะคณะกรรมการเป็นบุคคลสำคัญในการประสานความร่วมมือของภาครัฐและภาคประชาชน ที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ และเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและใจและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในพื้นที่ ดังนั้น คณะกรรมการจึงควรพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการบริหารกองทุนอยู่สมอ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโกตาบารูจึงจัดการประชุมสัมมนา อบรม ตามที่กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโกตาบารู หรือ สปสช. กำหนด เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 66 71,680.00 0 0.00
11 ก.พ. 64 จัดประชุมคณะอนุกรรมการการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาว 10 12,000.00 -
11 ก.พ. 64 ค่าวัสดุสำนักงาน 36 10,805.00 -
11 ก.พ. 64 ค่าใช้จ่ายอื่น 0 16,875.00 -
11 ก.พ. 64 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 20 32,000.00 -
10 ก.พ. 64 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโกตาบารู 6 7,200.00 -
6 7,200.00 0 0.00

2.1 ขั้นตอนวางแผนงาน - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน - กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2.2 ขั้นตอนการดำเนินงาน - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 2.3 ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด - จัดประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี - จัดประชุมคณะอนุกรรมการการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาว อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน

  1. กลุ่มเป้าหมาย 3.1 คณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 20 คน 3.2 คณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 6 คน 3.3 คณะอนุกรรมการการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาว จำนวน 10 คน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงิน หรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.พ. 2564 10:48 น.