กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรพิณ ปริสุทธิชัย




ชื่อโครงการ คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 พฤษภาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล ๔ มีผู้ป่วยเบาหวานมารับบริการเพิ่มขึ้นทุกปีซึ่งจาก การเก็บรวบรวมข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง (๒๕๕8-๒๕๖2)พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 323,346,353,และ๓๙๒ คน ตามลำดับ ได้รับการตรวจตา จำนวน ๑๘๑,๒๑๘,๒๖๙,310 คน ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ ๕๖,๖๓,๗๖.๒ และ79.1ตามลำดับ โดยตัวชี้วัด(ตามTemplate ของสสจ.สงขลา) การดูแลผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตา อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ร้อยละ ๖๐ ซึ่งพบว่าการดำเนินงานยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดดังกล่าว ทำให้ผู้ป่วยขาดโอกาสในการรักษาอย่างทันท่วงที จากการดำเนินงานที่ผ่านมาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน จะส่งต่อไปรับการตรวจตาที่โรงพยาบาลหรือคลีนิคตามที่ผู้ป่วยสะดวก
โดยโรงพยาบาลหาดใหญ่ได้มีเครื่องมือตรวจตา เรียกว่า กล้องFundus Camera ซึ่งสามารถดำเนินการโดยพยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรม และเครื่องนี้สามารมาใช้หมุนเวียนตามศูนย์บริการต่างๆได้โดยต้องผ่านกระบวนการรอเข้ารับการตรวจรักษาจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งสามารถช่วยเพิ่มอัตราการตรวจตาได้เพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล ๔จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอ ประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้มีความรู้ในการดูแลตนเองป้องกันภาวะแทรกซ้อนจาก โรคเบาหวาน และสามารถเข้าถึงบริการให้ได้มากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้า ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนเบาหวานขึ้นตาและเท้า
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ป่วยเบาหวานได้เข้ารับการตรวจคัดกรองตาและเท้า

๒. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

๓. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีความผิดปกติ สามารถเข้ารับการรักษาต่อจากแพทย์อย่างทันท่วงที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน

วันที่ 22 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน เรื่องการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 3 รุ่น รุ่นละ 100 คน
  • ตรวจคัดกรองตาผู้ป่วยเบาหวาน โดยวิธีถ่ายภาพจอประสาทตาแบบดิจิตอล
  • ตรวจคัดกรองเท้าด้วยเครื่องมือ Monofilament
  • ส่งต่อผู้ป่วยที่ผิดปกติ พบแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 300 คน พบความผิดปกติของตา Mild NPDR จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ได้รับการตรวจเท้า พบความผิดปกติ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.66

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้า ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้ามากกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนเบาหวานขึ้นตาและเท้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนเบาหวานขึ้นตาและเท้าเพิ่มขึ้นร้อยละ๘๐
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติได้รับการส่งต่อไปตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม ร้อยละ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้า ป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนเบาหวานขึ้นตาและเท้า (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขร.ร.เทศบาล4 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรพิณ ปริสุทธิชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด