เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางณาตยา ชายแก้วนพรัตน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-18 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคปัจจุบันคนเราเต็มไปด้วยความเครียด มีสาเหตุมาจากหลายประการไม่ว่าจะเป็นค่าครองชีพ ปัญหาสังคม
การเมือง และที่หลีกหนีไม่พ้นอย่างหนึ่ง คือ ความเครียดอันเกิดจากการประกอบอาชีพหรือการทำงาน จากผลการสำรวจ
ของเอแบคโพลล์กับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พบว่าร้อยละ ๖๕ มีปัญหาความเครียดอันเนื่องมาจาก
การทำงาน และปัญหานี้หากไม่ได้รับการแก้ไขแล้ว อาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพ หรือ
แม้แต่ผลการทำงานที่ลดน้อยลง ซึ่งต้องยอมรับว่าจำนวนของคนทำงานที่มีภาวะโรคจิตและโรคซึมเศร้ามีสถิติเพิ่มสูงขึ้น
ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดและสุขภาพจิตของคนทำงานมาจากปัจจัยหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม เช่น อากาศ
ร้อนทำให้อารมณ์ร้อน หงุดหงิดและฉุนเฉียวมากขึ้น หรือลักษณะของงาน อาจเกิดขึ้นได้จากทำงานในส่วนที่ไม่ชอบ
มีลักษณะงานที่ขัดกับบุคลิกภาพหรือทำงานในส่วนที่ต้องรองรับอารมณ์คนอยู่ตลอดเวลา
กรมสุขภาพจิต เผยวัยทำงานเป็นกลุ่มเกิดความเครียดได้สูง ในรอบ ๓ ปี ข้อมูลจากสายด่วนสุขภาพจิต 1323
ตั้งแต่ พ.ศ. 2558-2560 ที่ให้บริการปรึกษาฟรีตลอด ๒๔ ชั่วโมง พบว่าผู้ใช้บริการมากที่สุด คือ กลุ่มวัยทำงานอายุ
๒๒-๕๙ ปี จำนวน ๑๐๕,๙๖๗ ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 62 ของผู้ใช้บริการทั้งหมด 169,728 ครั้ง คิดเป็นอันดับ ๑ โรคเครียด
ถือเป็นโรคยอดนิยม โดยเฉพาะกลุ่มคนทำงานเนื่องจากต้องรับผิดชอบหลายอย่าง จึงทำให้เกิดความเครียดได้ง่าย โดย
ความเครียดนั้นยังมีหลายระดับด้วยกัน และในระดับรุนแรงถือว่ามีความอันตรายค่อนข้างมาก เสี่ยงต่อภาวะการเกิดโรค
ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษมฝ่ายบริการสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้ตระหนัก
เห็นความสำคัญของการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน จึงได้ทำโครงการ "เติมพลังใจ ต้านภัย
ความเครียด"
เพื่อช่วยให้กลุ่มวัยทำงานได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง และสามารถ
ประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่างเหมาะสม รวมถึงสามารถเผชิญกับปัญหาและความจริงของ
ชีวิตได้ดี มีภูมิคุ้มกัน เมื่อนั้นเราก็จะมีสุขภาพจิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมจัดอบรมโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์
- ค่าวิทยากร
- ค่าวัสดุอุปกรณ์
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่
- ค่าถ่ายเอกสาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสมารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่างเหมาะสม
๒. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน
๓.ลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจกภาวะเครียด เช่น โรคซึมเศร้า โรคนอนไม่หลับ ซึ่งโรคเหล่านี้อาจนำพาไปสู่ภาวะทางจิตที่
รุนแรงขึ้นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์
วันที่ 27 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายไวนิลเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น
ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
0
0
2. ค่าวิทยากร
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ซื้อเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
0
0
3. ค่าวัสดุอุปกรณ์
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ซื้อเพื่อนำไปใช้จัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น
ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
0
0
4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ซื้อเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
50
0
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ซื้อเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
0
0
6. ค่าถ่ายเอกสาร
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ซื้อเพื่อนำไปใช้จัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรม
0.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน
ตัวชี้วัด : ประขาชนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม (2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมจัดอบรมโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด (3) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ (4) ค่าวิทยากร (5) ค่าวัสดุอุปกรณ์ (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่ (8) ค่าถ่ายเอกสาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางณาตยา ชายแก้วนพรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางณาตยา ชายแก้วนพรัตน์
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-18 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคปัจจุบันคนเราเต็มไปด้วยความเครียด มีสาเหตุมาจากหลายประการไม่ว่าจะเป็นค่าครองชีพ ปัญหาสังคม การเมือง และที่หลีกหนีไม่พ้นอย่างหนึ่ง คือ ความเครียดอันเกิดจากการประกอบอาชีพหรือการทำงาน จากผลการสำรวจ ของเอแบคโพลล์กับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พบว่าร้อยละ ๖๕ มีปัญหาความเครียดอันเนื่องมาจาก การทำงาน และปัญหานี้หากไม่ได้รับการแก้ไขแล้ว อาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพ หรือ แม้แต่ผลการทำงานที่ลดน้อยลง ซึ่งต้องยอมรับว่าจำนวนของคนทำงานที่มีภาวะโรคจิตและโรคซึมเศร้ามีสถิติเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดและสุขภาพจิตของคนทำงานมาจากปัจจัยหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม เช่น อากาศ ร้อนทำให้อารมณ์ร้อน หงุดหงิดและฉุนเฉียวมากขึ้น หรือลักษณะของงาน อาจเกิดขึ้นได้จากทำงานในส่วนที่ไม่ชอบ มีลักษณะงานที่ขัดกับบุคลิกภาพหรือทำงานในส่วนที่ต้องรองรับอารมณ์คนอยู่ตลอดเวลา กรมสุขภาพจิต เผยวัยทำงานเป็นกลุ่มเกิดความเครียดได้สูง ในรอบ ๓ ปี ข้อมูลจากสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ตั้งแต่ พ.ศ. 2558-2560 ที่ให้บริการปรึกษาฟรีตลอด ๒๔ ชั่วโมง พบว่าผู้ใช้บริการมากที่สุด คือ กลุ่มวัยทำงานอายุ ๒๒-๕๙ ปี จำนวน ๑๐๕,๙๖๗ ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 62 ของผู้ใช้บริการทั้งหมด 169,728 ครั้ง คิดเป็นอันดับ ๑ โรคเครียด ถือเป็นโรคยอดนิยม โดยเฉพาะกลุ่มคนทำงานเนื่องจากต้องรับผิดชอบหลายอย่าง จึงทำให้เกิดความเครียดได้ง่าย โดย ความเครียดนั้นยังมีหลายระดับด้วยกัน และในระดับรุนแรงถือว่ามีความอันตรายค่อนข้างมาก เสี่ยงต่อภาวะการเกิดโรค ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษมฝ่ายบริการสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้ตระหนัก เห็นความสำคัญของการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน จึงได้ทำโครงการ "เติมพลังใจ ต้านภัย ความเครียด" เพื่อช่วยให้กลุ่มวัยทำงานได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง และสามารถ ประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่างเหมาะสม รวมถึงสามารถเผชิญกับปัญหาและความจริงของ ชีวิตได้ดี มีภูมิคุ้มกัน เมื่อนั้นเราก็จะมีสุขภาพจิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมจัดอบรมโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์
- ค่าวิทยากร
- ค่าวัสดุอุปกรณ์
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่
- ค่าถ่ายเอกสาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสมารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่างเหมาะสม ๒. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน ๓.ลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจกภาวะเครียด เช่น โรคซึมเศร้า โรคนอนไม่หลับ ซึ่งโรคเหล่านี้อาจนำพาไปสู่ภาวะทางจิตที่ รุนแรงขึ้นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 27 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายไวนิลเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น
|
0 | 0 |
2. ค่าวิทยากร |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำซื้อเพื่อนำไปใช้ในการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
|
0 | 0 |
3. ค่าวัสดุอุปกรณ์ |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำซื้อเพื่อนำไปใช้จัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น
|
0 | 0 |
4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำซื้อเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
|
50 | 0 |
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่ |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำซื้อเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
|
0 | 0 |
6. ค่าถ่ายเอกสาร |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำซื้อเพื่อนำไปใช้จัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แพร่ระบาดเป็นการทั่วไปและมีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อจากการแพร่ระบาดและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในหลายจังหวัด ซึ่งในอำเภอหาดใหญ่เอง พบว่ามีผู้ติดเชื้อจำนวนเพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวและเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชนตลอดจนเพื่อเป็นการสนองนโยบายและ มาตรการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเห็นควรขออนุมัติเลื่อนการจัดโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด โดยไม่มีกำหนด
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน ตัวชี้วัด : ประขาชนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถประยุกต์ใช้วิธีการบริหารจัดการความเครียดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม (2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิตคนวัยทำงาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมจัดอบรมโครงการเติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด (3) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ (4) ค่าวิทยากร (5) ค่าวัสดุอุปกรณ์ (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้อบรม (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่ (8) ค่าถ่ายเอกสาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เติมพลังใจ ต้านภัยความเครียด ศูนย์บริการสาธารณสุขเพชรเกษม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางณาตยา ชายแก้วนพรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......