กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อีซอ




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8422-01-09 เลขที่ข้อตกลง 64-L8422-01-09

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8422-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 125,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 220 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ระลอกสอง จังหวัดนราธิวาสเป็นพื้นที่เสี่ยง เนื่องจากพบผู้ป่วยติดเชื้อ และกลุ่มเสี่ยงจากแรงงานที่เดินทางกลับมาจากประเทศมาเลเซีย พบการติดเชื้อในพื้นที่ตำบลจวบจำนวน 1 ราย และมีผู้ที่เสี่ยงกับผู้ติดเชื้อในชุมชน ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนในพื้นที่ อีกทั้งจังหวัดนราธิวาสพบผู้ติดเชื้อจำนวนมากในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส และประชาชนในชุมชนที่ร่วมงานโครงการ TO BE NUMBERONE ที่โรงแรมไดม่อน จังหวัดสุราษฎร์ธานี สร้างความตระหนกในชุมชนเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งประชาชนในชุมชนส่วนหนึ่งยังคงขาดความตระหนักในการป้องกันตนเองตามมาตรการในพื้นที่สาธารณะ ซึ่งพื้นที่สาธารณะในตำบลจวบที่มีการรวมตัว เช่น ตลาดนัด มัสยิด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนตาดีกา และสถานที่ราชการ ยังคงเป็นสถานที่ๆเสี่ยง จึงต้องมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด โดยเบื่องต้นได้มีมาตรการการป้องกันตามประกาศแล้ว เพื่อให้มาตรการดังกล่าวดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย จึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมความรู้ ควดขันการใช้มาตรการอย่างเคร่งครัด ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลจวบ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของ COVID-19 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาสเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า-2019 ที่อาจเกิดขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา และประชาชนเกี่ยวกับโรค COVID-19 2.เพื่อเฝ้าระวังควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในพื้นที่ ตำบลจวบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจโดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมที่1.2 จัดหาเจลล้างมือแอลกอฮอร์ เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่ายของโรค โดยมีจุดติดตั้ง ดังนี้
  3. กิจกรรมที่1.3 จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิแบบขาตั้ง เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่ายของโรค โดยมีจุดติดตั้ง ดังนี้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ตำบลจวบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการล้างมือ และการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง 2.ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรอง และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ 3.ประชาชนได้มีความเข้าใจในการเว้นระยะห่างกันอย่างน้อย 1-2เมตร
    4.ประชาชนปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการเข้าตลาด โดยใช้เส้นทางเข้า-ออกทางเดียว แบ่งโซนอาหาร และลูกค้าต้องเว้นระยะตาม Social distancing ได้อย่างถูกต้อง 5.การติดเชื้อ และการแพร่กระจายเชื้อลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่1.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจโดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์

วันที่ 29 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายโฟมบอร์ดขนาด 40x60 เซนติเมตร จำนวน 30 แผ่นๆละ 300.-บาท เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 9,000.-บาท ดังนี้
1. ตาดีกา จำนวน 11 จุด x 1 แผ่นป้าย เป็นจำนวน 11 แผ่นป้าย
2. มัสยิด จำนวน 10 จุด x 1 แผ่นป้าย เป็นจำนวน 10 แผ่นป้าย
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 จุด x 4 แผ่นป้าย เป็นจำนวน 4 แผ่นป้าย
4. ตลาด จำนวน 3 จุด x 3 แผ่นป้าย เป็นจำนวน 3 แผ่นป้าย
5. อบต. จำนวน 2 จุด x 2 แผ่นป้าย เป็นจำนวน 2 แผ่นป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคไวรัสโคโรน่า 2019
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019

 

0 0

2. กิจกรรมที่1.2 จัดหาเจลล้างมือแอลกอฮอร์ เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่ายของโรค โดยมีจุดติดตั้ง ดังนี้

วันที่ 29 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อเจลล้างมือแอลกอฮอร์ 500 มิลลิลิตร จำนวน 150 ขวดๆละ 120.-บาทเป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 18,000.-บาท ดังนี้
1. ตาดีกา จำนวน 11 แห่ง x 5 ขวด เป็นจำนวน 55 ขวด
2. มัสยิด จำนวน 10 แห่ง x 5 ขวด เป็นจำนวน 50 ขวด
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง x 5 ขวด เป็นจำนวน 20 ขวด
4. ตลาด จำนวน 3 แห่ง x 5 ขวด เป็นจำนวน 15 ขวด
5. อบต. จำนวน 2 จุด x 5 ขวด เป็นจำนวน 10 ขวด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคไวรัสโคโรน่า 2019
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019

 

0 0

3. กิจกรรมที่1.3 จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิแบบขาตั้ง เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่ายของโรค โดยมีจุดติดตั้ง ดังนี้

วันที่ 29 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิแบบขาตั้ง จำนวน 40 เครื่องๆละ 2,450.-บาทเป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 98,000.-บาท ดังนี้
1. ตาดีกา จำนวน 11 แห่ง x 1 เครื่อง เป็นจำนวน 11 เครื่อง
2. มัสยิด จำนวน 10 แห่ง x 2 เครื่อง เป็นจำนวน 20 เครื่อง
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง x 1 เครื่อง เป็นจำนวน 4 เครื่อง
4. ตลาด จำนวน 3 แห่ง x 1 เครื่อง เป็นจำนวน 3 เครื่อง
5. อบต. จำนวน 2 จุด x 1 เครื่อง เป็นจำนวน 2 เครื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคไวรัสโคโรน่า 2019
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา และประชาชนเกี่ยวกับโรค COVID-19 2.เพื่อเฝ้าระวังควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในพื้นที่ ตำบลจวบ
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19 2. การระบาดของโรคโควิด-19 ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา และประชาชนเกี่ยวกับโรค COVID-19 2.เพื่อเฝ้าระวังควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในพื้นที่ ตำบลจวบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจโดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมที่1.2 จัดหาเจลล้างมือแอลกอฮอร์ เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่ายของโรค โดยมีจุดติดตั้ง ดังนี้ (3) กิจกรรมที่1.3 จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิแบบขาตั้ง เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่ายของโรค โดยมีจุดติดตั้ง ดังนี้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8422-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัลยา อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด