กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวพีรดา ศรีจำเริญ




ชื่อโครงการ เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-7258-1-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-7258-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคมะเร็งในไทยปัจจุบันยังถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการ เสียชีวิตอันดับ 1 ของคนไทย โดยแต่ละปีมีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่กว่า ๑๒๐,๐๐๐ ราย และมีผู้ป่วยที่เสียชีวิตมากกว่า 60,000 ราย โดยโรคมะเร็งที่พบมาก ๕ อันดับแรกในเพศหญิง ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปอด และมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปัจจุบัน โรคมะเร็งเต้านมได้กลายมาเป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเพศหญิง จากเดิมที่พบมากเป็นอันดับ 2 รองจากโรคมะเร็งปากมดลูก โดยสตรีที่เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ทุกช่วงอายุ มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคมะเร็งเต้านมได้ทุกคน แต่ใน กลุ่มที่อายุมากกว่า ๔๐ ปีขึ้นไปจะมีความเสี่ยงมากขึ้นอย่างชัดเจนและช่วงอายุที่พบอุบัติการณ์การเป็นมะเร็งเต้านมสูงสุด คือระหว่าง ๕o - ๕๕ ปี สาเหตุมากจากปัจจัยเสี่ยงหลายประการ ทั้งอายุที่เพิ่มมากขึ้น พฤติกรรมการบริโภคที่เน้นไขมันสูง ภาวะอ้วน การดื่มแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย รวมถึงปัจจัยหาพันธุกรรม มะเร็งเต้านมระยะแรกจะไม่แสดงอาการ หรือความผิดปกติให้สังเกตได้ ต่อมาคลำได้ก้อนแข็งในระยะแรกเป็นก้อนเล็ก ถ้าทิ้งไว้จะขยายใหญ่ขึ้น ในที่สุดจะแตก เป็นแผล ส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่เสียชีวิต มักมาพบแพทย์เมื่อมะเร็งเต้านมได้ลุกลามและแพร่กระจายแล้ว การป้องกันมะเร็ง เต้านม นอกจากจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ แล้วสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการค้นหา ความผิดปกติของเต้านมให้เร็วที่สุดเพื่อเพิ่มโอกาสในการรักษาและรอดชีวิต การให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชน การตรวจพบมะเร็งในระยะต้นๆ และได้รับการรักษาอย่าง รวดเร็ว พบว่าเป็นแนวทางในการลดความเสี่ยงจากการเสียชีวิตด้วยมะเร็งเต้านมได้ ซึ่งการตรวจหามะเร็งเต้านมที่มี ประสิทธิภาพต้องอาศัยการตรวจเต้านมด้วยตนเอง หากพบความผิดปกติจะต้องได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยโดย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม โดยให้ความรู้ เรื่องมะเร็งเต้านม และสอนสาธิตพร้อมฝึกปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเองให้กับประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อเป็นการ สร้างความตื่นตัวในการป้องกันโรคดังกล่าว และเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนที่จะลุกลามต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแรก
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อมวางแผนการดำเนินงาน
  2. วิทยากร /โมเดลเต้านม/ไวนิล/อาหารว่าง/เอกสาร
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี ๒. สามารถค้นหาความผิดปกติของะเร็งเต้านมในระยะแรก 3. กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งตัว และรักษาอย่างถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วิทยากร /โมเดลเต้านม/ไวนิล/อาหารว่าง/เอกสาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจ้างทำป้ายไวนิล ขนาด 1 x 2 เมตร 1 ผืน พิมพ์ 4 สี ค่าจ้างทำไวนิลพร้อมขาตั้ง Roll up ขนาดกว้าง 0.8 x 2 เมตรจัดทำ 2 ชุด จัดซื้อโมเดลเต้านม 1 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าจ้างทำป้ายไวนิล ขนาด 1 x 2 เมตร 1 ผืน พิมพ์ 4 สีความละเอียดของงานพิมพ์ไม่น้อยก่วา 72 พิกเซลต่อนิ้วการออกแบบเน้นข้อความสีสันสดใสข้อความโลโก้เทศบาลนครหาดใหญ่ ค่าจ้างทำไวนิลพร้อมขาตั้ง Roll up ขนาดกว้าง 0.8 x 2 เมตรจัดทำ 2 ชุดตัวป้ายทำด้วยแผ่นไวนิลจำนวน 2ชุด พิมพ์ 4 สีความละเอียดไม่น้อย 70 พิกเซลต่อนิ้วแข็งแรงทนทานม้วนเก็บได้โดยง่าย จัดซื้อโมเดลเต้านม 1 ชุด เป็นวัสุดทำจากยางพารามีสองเต้านม พร้อมเอี๊ยมสวมกับตัวเต้านมมี 2 ข้าง 1 ข้าง ปกติ อีกข้างมีก้อน 3 ระดับ ตื้น กลาง ลึก

 

60 0

2. กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อมวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 21 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้จัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้จัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด

 

0 0

3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 21 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้จัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้จัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการอบรมทุกคนได้ฝึกปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
0.00

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแรก
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของเต้านมตนเองได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะแรก
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยและเสียชีวิตของโรคมะเร็งเต้านมลดลงอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแรก (3) เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อมวางแผนการดำเนินงาน (2) วิทยากร /โมเดลเต้านม/ไวนิล/อาหารว่าง/เอกสาร (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 1 ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-7258-1-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพีรดา ศรีจำเริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด