กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชัยวารี


“ โครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข ”

อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด

หัวหน้าโครงการ
นายพีระพงษ์ แดนประกรณ์

ชื่อโครงการ โครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข

ที่อยู่ อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัด ร้อยเอ็ด

รหัสโครงการ L777225643004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข จังหวัดร้อยเอ็ด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชัยวารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่กิจกรรม 5ส ไปสู่ประชาชน (2) 2.เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาวัด ให้เกิดความสามัคคี (3) 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนาภูมิทัศน์ที่สะอาด ร่มรื่น สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ (4) 4.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในกลุ่มพระภิกษุ สามเณร รวมทั้งประชาชนที่มาร่วมกิจกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพสำหรับ พระภิกษุ สามเณร และการปฏิบัติ สมหลัก3อ.2ส. (2) 2.กิจกรรมทำความสะอาดพัฒนาวัดตามแนวทาง 5ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกับมหาเถรสมาคม สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหามงกุฎราชวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) ว่าด้วยความร่วมมือดำเนินโครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข พัฒนาวัดตามแนวทาง 5ส ที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการทำชุมชนให้เข้มแข็ง โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางในการทำกิจกรรมในชุมชน และนอกจากนี้ ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขพบว่าปัจจุบัน พระสงฆ์ไทยกว่าครึ่งมีภาวะอ้วนลงพุง เสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากการบริโภคอาหารไม่ถูกหลักวิชาการ มีรสชาติที่หวาน มัน เค็ม มากเกินไปและขาดกิจกรรมบริหารกาย ส่วนหนึ่งมาจากการฉันภัตตาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ เนื่องจากพระสงฆ์ไม่สามารถเลือกฉันอาหารเองได้ ประกอบกับพระภิกษุสงฆ์อยู่ในสถานภาพ ที่ไม่เอื้อต่อการออกกำลังกาย มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย จึงเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น
เทศบาลตำบลชัยวารี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ได้แก่ บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันของท้องถิ่น การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง การกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย ตลอดจนการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลชัยวารี จึงได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในกลุ่มพระภิกษุ สามเณร ประชาชนที่มาร่วมกิจกรรม รวมทั้งการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในศาสนสถาน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางในการทำกิจกรรมของชุมชน จึงได้จัดทำโครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข ประจำปี 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่กิจกรรม 5ส ไปสู่ประชาชน
  2. 2.เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาวัด ให้เกิดความสามัคคี
  3. 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนาภูมิทัศน์ที่สะอาด ร่มรื่น สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ
  4. 4.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในกลุ่มพระภิกษุ สามเณร รวมทั้งประชาชนที่มาร่วมกิจกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพสำหรับ พระภิกษุ สามเณร และการปฏิบัติ สมหลัก3อ.2ส.
  2. 2.กิจกรรมทำความสะอาดพัฒนาวัดตามแนวทาง 5ส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
พระภิกษุ สามเณร 5

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้วัดเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่กิจกรรม 5ส ไปสู่ประชาชน 2.สร้างความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาวัด ให้เกิดความสามัคคี 3.เกิดการพัฒนาภูมิทัศน์ที่สะอาด ร่มรื่น สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ 4.พระภิกษุ สามเณร รวมทั้งประชาชนที่มาร่วมกิจกรรม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่กิจกรรม 5ส ไปสู่ประชาชน
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00 80.00

เทศบาลและชุมชน4หมู่บ้านจัดกิจกรรรมทำความสะอาดวันทุกวันพระ

2 2.เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาวัด ให้เกิดความสามัคคี
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00 80.00

มีกิจกรรมที่ทำร่วมกันระหว่างอปท.ชุมชนและพระภิกษุสงฆ์ คือร่วมกันทำความสะอาดวัดทุกวันพระ ทำให้เกิดความสามัคคีกัน

3 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนาภูมิทัศน์ที่สะอาด ร่มรื่น สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
70.00 90.00 90.00

เมื่อวัดสะอาด ก็ย่อมเอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี ห่างไกลโรค และยังส่งผลให้สุขภาพจิตดีตามไปด้วย

4 4.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในกลุ่มพระภิกษุ สามเณร รวมทั้งประชาชนที่มาร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด :
70.00 80.00 80.00

กลุ่มเป้าหมาย ได้ตรวจสุขภาพก่อนกรอบรม และได้เรียนรู้การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ รวมทั้งได้รับคำแนะนำในการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
พระภิกษุ สามเณร 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่กิจกรรม 5ส ไปสู่ประชาชน (2) 2.เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาวัด ให้เกิดความสามัคคี (3) 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนาภูมิทัศน์ที่สะอาด ร่มรื่น สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ (4) 4.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในกลุ่มพระภิกษุ สามเณร รวมทั้งประชาชนที่มาร่วมกิจกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพสำหรับ พระภิกษุ สามเณร และการปฏิบัติ สมหลัก3อ.2ส. (2) 2.กิจกรรมทำความสะอาดพัฒนาวัดตามแนวทาง 5ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัด ประชารัฐ สร้างสุข จังหวัด ร้อยเอ็ด

รหัสโครงการ L777225643004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพีระพงษ์ แดนประกรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด