กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านคอกเสือ ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางปราณี ทองหนูเอียด

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านคอกเสือ

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325642005 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านคอกเสือ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านคอกเสือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านคอกเสือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L336325642005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมานาน และนับวันยิ่งมีแรวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี มีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกของมนุษย์มากขึ้น ทำให้ลักษณะการใช้ชีวิตประจำวันเปลี่ยนแปลงไปก่อให้เกิดปริมาณของเหลือทิ้งเป็นจำนวนมาก จากการสำรวจสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ พบว่าปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นในทุกปี ในปี 2562 มีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 28.7 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2561 ร้อยละ 3 ซึ่งแม้ประเทศไทยมีมาตรการต่างๆ กระตุ้นให้มีการลดขยะในพื้นที่แต่ปริมาณขยะก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกปี มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ยุง ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำหนดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ เกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม และปัญหาขยะในชุมชน
ปัจจุบันพื้นที่ ม.8 ต.บ้านนา อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง ก็เป็ฯอีกพื้นที่ ที่มีปัญหาการเพิ่มขึ้นของขยะใรชุุมชน พบว่าส่วนใหญ่ไม่มีการจัดการคัดแยกขยะที่ต้นทาง บวกกับสภาพแวดล้อม สภาพอากาศเอื้อต่อการเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งโรคไข้เลือดออกถือเป็นโรคประจำถิ่นที่มีการระบาดมากในช่วงฤดูฝนของทุกปี แต่หากประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักในการดูแลจัดการสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ก็ถือเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อีกทางหนึ่ง และยังทำให้ทัศนีภาพของชุมชนสะอาด ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความตระหนักให้ครัวเรือนมีการจัดการสิ่งแวดล้อม มีการจัดการขยะที่เหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ เข้าใจ และร่วมมือจัดการ และคัดแยก "ขยะ" อย่างเหมาะสมโดยชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยะขยะ
  2. เพื่อให้ครัวเรือนมีการใช้ประโยชน์จากขยะ
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะ และโรคที่มาจากการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีในชุมชน
  2. กิจกรรมที่ 2 ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะในชุมชน
  3. อบรมให้ความรู้ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ
  4. คืนข้อมูลเรื่องขยะและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชนพร้อมอบรมให้ความรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม
  5. ติดตามผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 ระยะ 4 เดือน
  6. ติดตามผลการดำเนิน ครั้งที่ 2 ระยะ 8 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการจัดการสิ่งแวดล้อม คัดแยกขยะในครัวเรือน และชุมชน
  2. ชุมชนสะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยะขยะ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
60.00

 

2 เพื่อให้ครัวเรือนมีการใช้ประโยชน์จากขยะ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 30
60.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ตัวชี้วัด : ลดลงร้อยละ 60
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครัวเรือนมีการคัดแยะขยะ (2) เพื่อให้ครัวเรือนมีการใช้ประโยชน์จากขยะ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะ และโรคที่มาจากการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะในชุมชน (3) อบรมให้ความรู้ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ (4) คืนข้อมูลเรื่องขยะและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชนพร้อมอบรมให้ความรู้การจัดการสิ่งแวดล้อม (5) ติดตามผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 ระยะ 4 เดือน (6) ติดตามผลการดำเนิน ครั้งที่ 2 ระยะ 8 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ในชุมชน หมู่ที่ 8 บ้านคอกเสือ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325642005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปราณี ทองหนูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด