กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1) ”
จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายการียา ยือแร




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1)

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3032-01-02 เลขที่ข้อตกลง 64-L3032-01-02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3032-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนสังคมไทยมีความซับซ้อนในการดำรงชีวิต ด้วยข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่หลากหลาย และระบบสุขภาพที่มีความซับซ้อน การพัฒนาสมรรถนะให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ(health literacy) จึงเป็นประเด็นที่มีความท้าทาย เพื่อเพิ่มความสามารถของประชาชนให้สามารถควบคุม ดูแล และพัฒนาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน บรรลุสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลด้านการสร้างสุขภาพด้วยหลัก ๓ อ ๒ ส จากการดำเนินงานในปี 2563 พบว่า ผู้ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น จำเป็นต้องมีการขยายการปฏิบัติงานให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน รวมทั้งจำเป็นต้องมีการค้นหากลวิธีใหม่ ๆ เพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองด้วยบริบทวิถีชุมชน จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง


ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง จึงมีความมุ่งมั่นในการพัฒนารูปแบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองและอ้วนลงพุงรวมทั้งพัฒนาสมรรถนะของเครือข่าย และการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่จำเป็น ในการดำเนินงานเชิงรุกเจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินงานดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1) ขึ้น โดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างความร่วมมือ และพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองและอ้วนลงพุง ให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มสตรีผู้เรียนอัลกุรอานในระบบกีรออาตีย์/ประชาชนทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมโดยความสมัครใจ 60 คน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ชุมชน สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิต และเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด
  2. ๒. กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น ร้อยละ 60 และชุมชนสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ดำเนินการลงทะเบียนกลุ่มผู้เรียนที่ มีความพร้อมและสมัครใจร่วมกิจกรรม และกลุ่มประชาชนทั่วไป ๒. อบรม ตรวจสุขภาพ รวบรวมข้อมูล กลุ่มสตรีเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรม และการออกแบบกิจกรรม ร่วมกันให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน 1 วัน โดยใช้ฐานคิดการดูแลสุ
  2. 2.อบรมพัฒนาความรู้และทักษะ ต่าง ๆ ในการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน 2 วัน
  3. 3. ประชุมเพื่อติดตาม ประเมินผล กลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม เดือนละ 1 ครั้ง รวม 4 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มผู้สูงอายุ ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเวี่ยง 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมาย/ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน
  3. เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มสตรีผู้เรียนอัลกุรอานในระบบกีรออาตีย์/ประชาชนทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมโดยความสมัครใจ 60 คน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ชุมชน สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิต และเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : ๑. กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรม มีความรู้ และสามารถปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ร้อยละ 85
60.00 60.00

 

2 ๒. กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น ร้อยละ 60 และชุมชนสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเข้าถึงอุปกรณ์เฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค ฯ
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มผู้สูงอายุ ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเวี่ยง 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มสตรีผู้เรียนอัลกุรอานในระบบกีรออาตีย์/ประชาชนทั่วไป  เข้าร่วมกิจกรรมโดยความสมัครใจ  60 คน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ชุมชน สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิต และเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด (2) ๒. กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น ร้อยละ 60 และชุมชนสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.  ดำเนินการลงทะเบียนกลุ่มผู้เรียนที่ มีความพร้อมและสมัครใจร่วมกิจกรรม และกลุ่มประชาชนทั่วไป  ๒. อบรม ตรวจสุขภาพ รวบรวมข้อมูล กลุ่มสตรีเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรม และการออกแบบกิจกรรม ร่วมกันให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน 1 วัน โดยใช้ฐานคิดการดูแลสุ (2) 2.อบรมพัฒนาความรู้และทักษะ ต่าง ๆ ในการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน 2 วัน (3) 3. ประชุมเพื่อติดตาม ประเมินผล กลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม เดือนละ 1 ครั้ง รวม 4 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนากลุ่มสตรีเรียนอัลกุรอ่านในระบบกีรออาตีย์ สู่ ฮาลาเกาะฮฺ ควบคุม และป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานต้นแบบ ตำบลยะรัง ปี 2564 (ระยะที่ 1) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3032-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายการียา ยือแร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด