กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจิรภา คินิมาน

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งเต้านมเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ เป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับ ๑ ของมะเร็งในผู้หญิงไทย รองจากมะเร็งปากมดลูก ข้อมูลจกสถาบันมะเร็งแห่งชาติเมื่อปี 2559 ระบุว่ามะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่มีจำนวนผู้ป่วย มากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของไทย และมีผู้ป่วยจำนวนมากกว่าครึ่งเสียชีวิตจากโรคนี้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์เมื่อ ระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ส่งผล กระทบทางด้านเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติ ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสังคมและครอบครัวตามมา แต่สามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ ถ้าพบโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นร้อยละ ๓๐-๔๐ สามารถป้องกันได้ด้วย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น พฤติกรรมการบริโภค อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะอ้วน การไม่ออกกำลังกาย เป็นตัน ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพสตรีเพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม
โดยสตรีวัยเจริญพันธุ์ทุกช่วงอายุ มีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งเต้านมได้ทุกคน แต่ในกลุ่มอายุมากกว่า ๔๐ ปีขึ้นไปจะมีความเสี่ยงมากขึ้นอย่างชัดเจน และช่วงอายุที่พบอุบัติการณ์เป็นมะเร็งเต้านมสูงสุดคือช่วงอายุระหว่าง ๕๐-๕๕ ปี แต่อย่างไรก็ตามถ้าประชาชนได้มีความรู้ มีทักษะ และดูแลใส่ใจสุขภาพตนเอง โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็น ประจำ ทำให้สามารถตรวจพบความผิดปกติหรือมะเร็งในระยะเริ่มต้นได้มากขึ้น โอกาสรักษาที่หายขาดก็มีมากขึ้นตาม ไปด้วย จึงได้ทำโครงการเฝ้าระวังเต้านมภัยมะเร็งเต้านมประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อให้ อสม. ประธานชุมชน กรรมการชุมชนได้ฟื้นฟูความรู้ เพิ่มทักษะในการค้นหาความผิดปกติเต้านมด้วยตนเอง และสามารถนำความรู้และทักษะ ไปปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชน ตลอดจนบุคคลในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีทักษะเกิดความตะหนักถึงความสำคัญการตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อค้นหามะเร้งเต้านมในระยะเริ่มแรก
  2. กลุ่มป้าหมายคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ในเขตที่รับผิดชอบ
  3. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเครือข่าย การส่งต่อและดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
  4. เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  4. กิจกรรมรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านมในชุมชน
  5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ กลุ่มเป้าหมายได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง บุคคลในครอบครัว ตลอดจนกลุ่มหญิง วัยเจริญพันธุ์ในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ๒. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ ๓ กลุ่มเป้าหมายและหญิงวัยเจริญพันธ์ในชุมชนที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยที่ถูกต้อง ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 2 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x2 เมตร (ตารางเมตรละ 150 บาท) จำนวน 1 ผืน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้กำหนดจัดโครงการ  เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ในวันที่ ๒๑ เมษายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ กลุ่มเป้าหมายเป็น อสม. ประธานชุมชน และกรรมการชุมชน จำนวน 50 คน รูปแบบโครงการ เป็นการให้ความรู้ เน้นการสาธิต และฝึกปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เนื่องจากสถานการณ์มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้น ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้เลื่อนจัดกิจกรรมโครงการเป็นวันที่ ๔ สิงหาคม 2564 เวลาและสถานที่เดิม แต่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีจำนวนอัตราการติดเชื้อ อัตราป่วย เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และเพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ได้ออกประกาศเรื่องงดกิจกรรมการจัดโครงการ สัมมนา และให้ปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T อย่างเคร่งครัด ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้ยกเลิกดำเนินงานโครงการดังกล่าวไปก่อน โดยใช้งบประมาณไป 300 บาท เป็นค่าไวนิลโครงการ และมีเงินคงเหลือคืนกองทุนฯ จำนวน 5,100 บาท พร้อมทั้งนี้ได้นำเอกสารการใช้จ่ายเงินและสรุปรายงายการดำเนินโครงการรายละเอียด ตามเอกสารที่แนบมาท้ายนี้

 

0 0

2. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 29 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้กำหนดจัดโครงการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ในวันที่ 21 เมษายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ กลุ่มเป้าหมายเป็น อสม. ประธานชุมชน และกรรมการชุมชน จำนวน 50 คน รูปแบบโครงการ เป็นการให้ความรู้ เน้นการสาธิต และฝึกปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เนื่องจากสถานการณ์มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้น ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้เลื่อนจัดกิจกรรมโครงการเป็นวันที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลาและสถานที่เดิม แต่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีจำนวนอัตราการติดเชื้อ อัตราป่วย เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และเพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ได้ออกประกาศเรื่องงดกิจกรรมการจัดโครงการ สัมมนา และให้ปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T อย่างเคร่งครัด ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้ยกเลิกดำเนินงานโครงการดังกล่าวไปก่อน โดยใช้งบประมาณไป 300 บาท เป็นค่าไวนิลโครงการ และมีเงินคงเหลือคืนกองทุนฯ จำนวน 5,100 บาท

 

0 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน

วันที่ 4 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มสาธิตและฝึกปฏิบัติ ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 คน x 3 ชั่วโมง
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 50 คน
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับวิทยากรและผู้ดำเนินงาน จำนวน 10 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้กำหนดจัดโครงการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ในวันที่ 21 เมษายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ กลุ่มเป้าหมายเป็น อสม. ประธานชุมชน และกรรมการชุมชน จำนวน 50 คน รูปแบบโครงการ เป็นการให้ความรู้ เน้นการสาธิต และฝึกปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เนื่องจากสถานการณ์มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้น ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้เลื่อนจัดกิจกรรมโครงการเป็นวันที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลาและสถานที่เดิม แต่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีจำนวนอัตราการติดเชื้อ อัตราป่วย เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และเพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ได้ออกประกาศเรื่องงดกิจกรรมการจัดโครงการ สัมมนา และให้ปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T อย่างเคร่งครัด ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้ยกเลิกดำเนินงานโครงการดังกล่าวไปก่อน โดยใช้งบประมาณไป 300 บาท เป็นค่าไวนิลโครงการ และมีเงินคงเหลือคืนกองทุนฯ จำนวน 5,100 บาท

 

50 0

4. กิจกรรมรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านมในชุมชน

วันที่ 4 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้กำหนดจัดโครงการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ในวันที่ 21 เมษายน 2564 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ กลุ่มเป้าหมายเป็น อสม. ประธานชุมชน และกรรมการชุมชน จำนวน 50 คน รูปแบบโครงการ เป็นการให้ความรู้ เน้นการสาธิต และฝึกปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เนื่องจากสถานการณ์มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีแนวโน้มอัตราการติดเชื้อและอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้น ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้เลื่อนจัดกิจกรรมโครงการเป็นวันที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลาและสถานที่เดิม แต่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีจำนวนอัตราการติดเชื้อ อัตราป่วย เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และเพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ได้ออกประกาศเรื่องงดกิจกรรมการจัดโครงการ สัมมนา และให้ปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T อย่างเคร่งครัด ทางศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ จึงได้ยกเลิกดำเนินงานโครงการดังกล่าวไปก่อน โดยใช้งบประมาณไป 300 บาท เป็นค่าไวนิลโครงการ และมีเงินคงเหลือคืนกองทุนฯ จำนวน 5,100 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีทักษะเกิดความตะหนักถึงความสำคัญการตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อค้นหามะเร้งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีทักษะ และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ
0.00

 

2 กลุ่มป้าหมายคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ในเขตที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ในเขตที่รับผิดชอบไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเครือข่าย การส่งต่อและดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : กลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง มีผลการคัดกรองผิดปกติจะได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจและรักษาต่อไป
0.00

 

4 เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยและการเสียชีวิตของโรคมะเร็งเต้านม ลดลงอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีทักษะเกิดความตะหนักถึงความสำคัญการตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อค้นหามะเร้งเต้านมในระยะเริ่มแรก (2) กลุ่มป้าหมายคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ในเขตที่รับผิดชอบ (3) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเครือข่าย การส่งต่อและดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม (4) เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านมในชุมชน (5) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังต้านภัยมะเร็งเต้านม ศูนย์บริการสาธารณสุขรักษาภิกษุอุทิศ ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิรภา คินิมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด